aituolek
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 151
|
แล้วอย่างนี้ควรจะติดตั้งวิธีไหนดีที่สุดค่ะ เพราะกำลังศึกษาเพื่อที่จะทำไว้ใช้ที่สวนค่ะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
sniper
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 135
|
ผมลองมาหลายแบบครับ มาลงตัวที่วิธีนี้คือ ดูดเข้าปั้มเลย
การที่ปั้มจะสึกกร่อน มีโอกาสครับ แต่นานที่เห็นได้จากสวนเพื่อนก็ใช้ย่างเข้าปี 5 ก็ปกติ ตอนเราจะปิดมอเตอร์ก็ปิดระบบปุ๋ยซัก 5-10 นาที ปั้มก็จะดูดน้ำอย่างเดียวเป็นการล้างในตัวหรือไม่เราก็ไม่ได้ให้ปุ๋ยทุกวันอยู่แล้ว อย่าไปกังวลมากมายครับข้อนี้ เรื่องปั้มดูดปุ๋ยแล้วหมด จะทำให้ปั้มเสียหายได้ อันนี้เป็นไปได้แต่โอการเกิดขึ้นน้อยมาก จากประสพการณ์หากเราปล่อยน้ำสวนตามปกติก็ต้องมีคนเฝ้าอยู่แล้วเมื่อน้ำไม่ขึ้นเราก็ต้องเดินไปดูมอเตอร์ก่อนอันดับแรก ครั้งแรกๆเราจะกะการเปิดไม่ถูกครับว่าเปิดเท่าไร จะพอดีกับสวนของเรา แต่ครั้งต่อไปเราจะทราบเองครับ ผมก็เป็น ตอนนี้อยู่ตัวแล้ว กะ พอดีใช้ถังสองร้อยลิตรสองลูก หมดพอดีๆ เราจะรู้เองครับอย่าไปกังวลมาก ซีลในมอเตอร์ตามปกติ สาม สี่ปีก็ต้องเปลี่ยนอยู่แล้วหากใช้งานหนัก หากไปคิดมากเครียดครับ ระบบนี้ถูกที่สุด ง่ายที่สุด ที่สำคัญไม่เสียกำลังปั้มครับ ที่ดีอีกอย่างคือเวลาเราจะสร้างสูตรการให้ปุ๋ยของเราเองแล้วเอามาใช้ง่ายดีครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
as123p
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 165
|
ผมลองมาหลายแบบครับ มาลงตัวที่วิธีนี้คือ ดูดเข้าปั้มเลย
การที่ปั้มจะสึกกร่อน มีโอกาสครับ แต่นานที่เห็นได้จากสวนเพื่อนก็ใช้ย่างเข้าปี 5 ก็ปกติ ตอนเราจะปิดมอเตอร์ก็ปิดระบบปุ๋ยซัก 5-10 นาที ปั้มก็จะดูดน้ำอย่างเดียวเป็นการล้างในตัวหรือไม่เราก็ไม่ได้ให้ปุ๋ยทุกวันอยู่แล้ว อย่าไปกังวลมากมายครับข้อนี้ เรื่องปั้มดูดปุ๋ยแล้วหมด จะทำให้ปั้มเสียหายได้ อันนี้เป็นไปได้แต่โอการเกิดขึ้นน้อยมาก จากประสพการณ์หากเราปล่อยน้ำสวนตามปกติก็ต้องมีคนเฝ้าอยู่แล้วเมื่อน้ำไม่ขึ้นเราก็ต้องเดินไปดูมอเตอร์ก่อนอันดับแรก ครั้งแรกๆเราจะกะการเปิดไม่ถูกครับว่าเปิดเท่าไร จะพอดีกับสวนของเรา แต่ครั้งต่อไปเราจะทราบเองครับ ผมก็เป็น ตอนนี้อยู่ตัวแล้ว กะ พอดีใช้ถังสองร้อยลิตรสองลูก หมดพอดีๆ เราจะรู้เองครับอย่าไปกังวลมาก ซีลในมอเตอร์ตามปกติ สาม สี่ปีก็ต้องเปลี่ยนอยู่แล้วหากใช้งานหนัก หากไปคิดมากเครียดครับ ระบบนี้ถูกที่สุด ง่ายที่สุด ที่สำคัญไม่เสียกำลังปั้มครับ ที่ดีอีกอย่างคือเวลาเราจะสร้างสูตรการให้ปุ๋ยของเราเองแล้วเอามาใช้ง่ายดีครับ
เดียวจะทดสอบดูบ้างครับ...ขอบคุณครับสำหรับประสบการณ์ดีๆ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
testcha
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 14
|
ผมลองมาหลายแบบครับ มาลงตัวที่วิธีนี้คือ ดูดเข้าปั้มเลย
การที่ปั้มจะสึกกร่อน มีโอกาสครับ แต่นานที่เห็นได้จากสวนเพื่อนก็ใช้ย่างเข้าปี 5 ก็ปกติ ตอนเราจะปิดมอเตอร์ก็ปิดระบบปุ๋ยซัก 5-10 นาที ปั้มก็จะดูดน้ำอย่างเดียวเป็นการล้างในตัวหรือไม่เราก็ไม่ได้ให้ปุ๋ยทุกวันอยู่แล้ว อย่าไปกังวลมากมายครับข้อนี้ เรื่องปั้มดูดปุ๋ยแล้วหมด จะทำให้ปั้มเสียหายได้ อันนี้เป็นไปได้แต่โอการเกิดขึ้นน้อยมาก จากประสพการณ์หากเราปล่อยน้ำสวนตามปกติก็ต้องมีคนเฝ้าอยู่แล้วเมื่อน้ำไม่ขึ้นเราก็ต้องเดินไปดูมอเตอร์ก่อนอันดับแรก ครั้งแรกๆเราจะกะการเปิดไม่ถูกครับว่าเปิดเท่าไร จะพอดีกับสวนของเรา แต่ครั้งต่อไปเราจะทราบเองครับ ผมก็เป็น ตอนนี้อยู่ตัวแล้ว กะ พอดีใช้ถังสองร้อยลิตรสองลูก หมดพอดีๆ เราจะรู้เองครับอย่าไปกังวลมาก ซีลในมอเตอร์ตามปกติ สาม สี่ปีก็ต้องเปลี่ยนอยู่แล้วหากใช้งานหนัก หากไปคิดมากเครียดครับ ระบบนี้ถูกที่สุด ง่ายที่สุด ที่สำคัญไม่เสียกำลังปั้มครับ ที่ดีอีกอย่างคือเวลาเราจะสร้างสูตรการให้ปุ๋ยของเราเองแล้วเอามาใช้ง่ายดีครับ
ขอบคุณครับ หาวิธีทำอยู่ตั้งนาน ผมขอเอาประสบการณ์ท่านไปลองทำดูดีกว่าครับ ตอนแรกๆนึกในใจอยู่ว่าจะไปเจาะรูตรงปลายท่อดูด(หัวกะโหลก) พอมาเห็นรูป โอ้... เห็นแจ้งเลยครับ....
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
nota-i
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 72
|
ขอถามหน่อยครับ แบบต่อหลังปั้มน้ำปลายท่อที่อยู่ในถังได้ต่ออะไรเป็นพิเศษไหมครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
ครูนูญ
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 77
|
  ผมเอาเข้าทางทางน้ำเข้าผ่านสายยางเจาะท่อใสวาล์วของสายน้ำหยดที่แรกปุ๋ยไม่เดินครับ เพาะน้ำผมเป็นแท้งค์ มีแรงดันจากแท็งเปิดวาล์วไม่ดูดน้ำดันออกมาลองผิดลองถูก ลดวาล์วหลักที่ออกจากแท้ง 80 % วาล์วปุ๋ย 100% ดูดแรงมาก ดีใจสุดๆ บ้านๆ ง่ายๆ แต่มีประสิทธิภาพครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
new000
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 430
คุณ นิว
|
 การให้ปุ๋ยทางใบ พืชสามารถนำไปใช้ได้เร็วที่สุด ปุ๋ยทางใบที่เป็นคีเลต สามารถให้แก่พืชได้ทั้ง ทางราก ลำต้นและทางใบ เทคนิคการให้ปุ๋ยทางใบแบบโชกๆ ให้ใบเปียกจนล้นลงถึงพื้นดิน จึงเท่ากับเป็นการให้ปุ๋ยทางรากไปในตัว ปุ๋ยทางใบมี "น้ำ" เป็นฟิลเลอร์ จึงไม่เป็นส่งผลเสียต่อดินเหมือนฟิลเลอร์ที่เป็นของแข็ง ในปุ๋ยทางราก ปุ๋ยทางใบที่เป็นคีเลต. เมื่อตกลงดินระบบรากสามารถดูดซับนำเข้าสู่ต้นได้ทันที ในขณะที่ ปุ๋ยทางรากจะต้องผ่านกระบวนการเอ็นไซม์.โดยจุลินทรีย์ก่อน ต้นพืชจึงจะสามารถดูดซึมนำไปใช้ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
จำหน่ายปุ๋ยเคมีเหลว *ขออภัย จำกัดสิทธิ์การใส่ Link-URL ในลายเซ็น*
|
|
|
new000
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 430
คุณ นิว
|
ปุ๋ยปั้นเม็ดที่ละลายน้ำแล้วมีตะกอนอยู่ ตะกอนนั้นมีเนื้อปุ๋ยปนอยู่ค่อนข้างมาก การละลายปุ๋ยแล้วปล่อยไปตามท่อน้ำ(กรณีเป็นปุ๋ยสูตรที่ไม่ใช่เน้น ไนโตรเจน) จะได้ประสิทธิภาพต่ำกว่าการโรยปุ๋ยที่ผิวดินใกล้ต้น ไม่คุ้มค่า ผลผลิตสู้ปุ๋ยทางระบบน้ำโดยตรงไม่ได้ เปลืองท่อน้ำด้วยเพราะอุดตัน ส่วนปุ๋ยทางระบบน้ำ เอามาละลายน้ำฉีด ก็สู้ปุ๋ยทางใบจริงๆไม่ได้ การซึมเข้าสู่ต้นต่างกันหลายเท่า แต่ถ้าจะเอาปุ๋ยสำเร็จหรือปุ๋ยผสมที่เขาใช้ใส่ดินให้พืชกินทางรากมาใช้ฉีดพ่นทางใบก็ใช้ได้แต่ไม่ดีเพราะจะต้องกรองเอาฟิลเลอร์ (ตัวเติมเต็ม)ออกก่อน และดินขาวที่หุ้มเมล็ดปุ๋ยจะติดค้างที่ใบต้นไม้ ลดการปรุงอาหารลงได้  อย่ายึดติดนะครับ ถ้าไม่นอกกรอบบ้างก็อยู่กับที่ ครับผม
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
จำหน่ายปุ๋ยเคมีเหลว *ขออภัย จำกัดสิทธิ์การใส่ Link-URL ในลายเซ็น*
|
|
|
Service
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 763
|
ผมใช้ถัง 1000 ลิตร ในการให้ปุ๋ยน้ำนะครับ อย่างที่ด้านบนบอกนะครับ แรก ๆ ไม่รู้หรอก ว่าต้องเปิดวาร์วเท่าไหร่ ต้องลองเองครับ  
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
keawjah
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 307
|
มาเก็บเกี่ยวความรู้ค่ะ ขอบคุณมากนะคะ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Aomamy
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 6
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
punjapass
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 2
|
ผมเป็นตัวแทนขายปั้มผสม ปุ๋ย อยากอยากทราบรายละเอียด เมล์มาได้ครับหรือ 095-726-7011 mail:punjapass.clearwater.bkk@gmail.com
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
phalikhit
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 11572
|
เอาถังผสมปุ๋ยไว้สูงหน่อย ต่อท่อเข้าไป ปล่อยให้ปุ๋ยไหลลง จะไม่ง่ายกว่าหรอครับ
เอาถังผสมปุ๋ยไว้สูงหน่อย ต่อท่อเข้าไป ปล่อยให้ปุ๋ยไหลลง จะไม่ง่ายกว่าหรอครับ
แบบนี้รับรองไหลแน่ๆ ไม่ต้องคิดมากให้ซับซ้อนคิดดูแล้วมันอาจจะง่าย แต่มันจะง่ายอย่างที่คิดหรือเปล่าก็ไม่รู้ ในท่อมันมีแรงดันนะครับ เมื่อต่อท่อปุ๋ยลงมา แทนที่น้ำปุ๋ยจะไหลลงมา กลับจะถูกแรงดันในท่อดันไม่ให้น้ำปุ๋ยไหลลงมาก็ได้นะครับ ยังไม่เคยทำ ไม่ทราบว่าจะเป็นอย่างไร
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
ning_zaa
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 281
|
เพิ่มเติมนะครับ
ระบบดูดปุ๋ยแบบเวนจูรี่นี่ ความจริงแล้วถ้าจะโทษทางผู้จำหน่ายก็พอได้นะครับ เนื่องจากรูปที่ให้มาอธิบายไม่หมด
ไม่บอกว่าขนาดของท่อเมน และท่อดูดปุ๋ยต้องมีขนาดที่ต่างกัน เพื่อที่จะใช้วาร์วทั้งสามตัวเป็นตัวเร่งอัตราการไหลในท่อดูดปุ๋ย
คือต้องมีความต่างกันมากประมาณ 4 เท่าหรือมากกว่านั้น เช่น ถ้าใช้่่่่่่่่่่่ท่อดูดปุ๋ยขนาด 1/2 นิ้ว ต้องใช้ท่อเมนขนาด 2 นิ้ว ถ้าท่อเท่ากันมันไม่ทำงาน
คนขายก็บอกผ่านๆ ว่าลองต่อดูแล้วลองปิด-เปิดวาร์ว เพิ่มหรือลดเอาเดี๋ยวปั้มก็ทำงานแล้ว
มันไม่ทำครับ ปั้มเวนจูรี่มันเป็นปั้มที่ไม่ระบบไฟฟ้า ไม่มีที่เสียบถ่าน มันไม่มีพลังงานที่จะปั้มตัวเองให้น้ำปุ๋ยขึ้นมาได้ มันต้องอาศัยความแตกต่างกันของแรงดัน และการไหลของน้ำ ระหว่างท่อเมน และท่อดูดปุ๋ย ระบบถึงจะทำงาน
และหากเริ่มการทำงานน้ำในท่อดูดยังไม่มีน้ำ มีแต่ลม จำเป็นต้องหรี่วาล์วที่ท่อเมนลงมากๆ เพื่อให้น้ำมาไหลที่ท่อดูดปุ๋ย และลองปรับวาล์วที่ท่อดูด ทั้งเข้าและออก ปรับจนเริ่มทำงาน ปั้มจึงจะเริ่มทำงาน
ทั้งนี้ทั้งนั้นต้องลองปรับดูเพราะท่อเมนแต่ละคน จะมีอัตราการไหลที่แตกต่างกันตามขนาดปั้มและระยะส่งที่ใช้ในแปลง
และเมื่อปั้มทำงานแล้วค่อยไปเพิ่มวาล์วให้ที่ท่อเมนเพื่อให้นำไหลได้มากขึ้น คราวนี้น้ำที่ให้ก็จะมีปุ๋ยผสมด้วย
แต่ข้อเสียก็มีเมื่อใช้ไปสักระยะ แรงดูดปั้มจะตก ก็ต้องมาเริ่มปรับวาล์วกันใหม่
ถึงจะเพียงพอในการสร้างแรงดันที่แตกต่างกันทั้งสองท่อ ระบบจึงจะทำงาน
เพิ่งติดตั้งเสร็จ ทดลองผสมปุ๋ยไปแล้ว 2 กระป๋อง แต่สังเกตุว่า ถ้าน้ำเหลือน้อยๆ ไม่ค่อยดูด งงๆ อยู่
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|