หน้า: 1 ... 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 [87]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: สวนขี้คร้าน ห้องทดลองขนาดย่อม - โครงสร้างเติมน้ำใต้ดิน  (อ่าน 1107244 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 3 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
teerapan
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 988


« ตอบ #1376 เมื่อ: พฤษภาคม 10, 2016, 06:42:35 PM »

ขออภัยไม่ได้เข้ามานาน  ช่วงที่ผ่านมาทำอะไรมากไม่ค่อยได้เพราะแล้งขนาดต้นไผ่ยังเหี่ยวแบบนี้ (ต้นที่อยู่กลางภาพเป็นไผ่กิมซุง)


ต้นไม้บนภูเขาแถวสวนขี้คร้านเป็นแบบนี้



แหล่งน้ำประปาแห่งสุดท้ายของหมู่บ้านตอนนั้นสูบไม่ขึ้นแล้ว


ช่วงนี้ฝนไปตกทางตอนบนของประเทศแล้วส่วนที่สวนมีฝนตกเมื่อวันที่ 30 เมษายน แล้วก็ไม่ตกล่ะ  แต่ช่วงนี้ติดธุระก็เลยยังไม่ได้เข้าไปดูว่าสภาพจะดีขึ้นบ้างหรือไม่  ถ้าพอมีความชื้นก็จะลงมือปลูกป่า Lot ใหม่
บันทึกการเข้า

“Stupidity is an attempt to iron out all differences, and not to use them or value them creatively.” Bill Mollison

bigcotto
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 15


« ตอบ #1377 เมื่อ: กรกฎาคม 18, 2016, 11:55:55 PM »

สวนอยู่ตำแหน่งไหนครับ ของผมก็อยู่แก่งกระจานเหมือนกัน เขากลิ้ง   อยากไปเที่ยวชมเรียนรู้
บันทึกการเข้า
นายเติมใจ
122/134 หมู่บ้านแสนเก้าโฮม หมู่ 2 ตำบลบึง อำาเภอศรีราช จังหวัดชลบุรี 20230
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1441



« ตอบ #1378 เมื่อ: กันยายน 21, 2016, 02:54:03 PM »

 ยิ้มเท่ห์ ยิ้มเท่ห์ ยิ้มเท่ห์
บันทึกการเข้า

weekra73
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 350



« ตอบ #1379 เมื่อ: พฤศจิกายน 11, 2016, 10:21:37 AM »

คิดถึงเจ้าของกระทู้ไม่ได้มา update กระทู้นานแล้ว ไม่ทราบว่าตอนนี้สวนเป็นอย่างไรบ้างครับ
บันทึกการเข้า

เฮ็ดในสิ่งที่เซื่อ เซื่อในสิ่งที่เฮ็ด
deemeechai
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4246


« ตอบ #1380 เมื่อ: มกราคม 14, 2017, 03:06:00 PM »

สวัสดีท่านจอมยุทธ์ธี
สบายดีไหมครับ
ผมสบายดี แต่มายาไม่ค่อยมี  ยิงฟันยิ้ม ยิงฟันยิ้ม
บันทึกการเข้า
นายเติมใจ
122/134 หมู่บ้านแสนเก้าโฮม หมู่ 2 ตำบลบึง อำาเภอศรีราช จังหวัดชลบุรี 20230
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1441



« ตอบ #1381 เมื่อ: พฤศจิกายน 13, 2017, 07:43:42 PM »

ห่างหายไปนาน ได้เวลามาขยับกระทู้กัน แวะมาเยี่ยมเยียนครับผม

 ยิ้มเท่ห์ ยิ้มเท่ห์ ยิ้มเท่ห์
บันทึกการเข้า

walaijaifarm
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1168



« ตอบ #1382 เมื่อ: ธันวาคม 19, 2017, 09:46:28 AM »

รอเช่นกันครับ
บันทึกการเข้า
ชุติพนธ์
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1227


« ตอบ #1383 เมื่อ: มกราคม 17, 2018, 07:37:45 PM »

สวัสดีครับ
บันทึกการเข้า
วรพจน์
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 96


« ตอบ #1384 เมื่อ: เมษายน 08, 2018, 01:39:58 PM »

อ้างถึง

ระบบแบบนี้ถูกใช้งานในต่างประเทศตั้งแต่ปี 1960's และเริ่มได้รับความนิยมมากขึ้นในช่วง 1990s โดยจะใช้ทั้งในการทำความเย็น และความร้อนให้กับอาคาร  โดยหลักๆ จะแบ่งย่อยออกมาได้เป็นอีก 3 แบบคือ Open system, Closed loop system และ Combination System 



ในระบบ Open System จะเป็นแบบที่แสดงในภาพเป็นแบบง่ายสุด ความจริงระบบแบบนี้ถูกสร้างขึ้นมาตั้งแต่สมัยโรมันเมื่อประมาณ 1,300 ปีที่แล้ว โดยอาศัยการลดความชื้นด้วยการทำท่อเอียงลงไปด้านไกลเพื่อให้น้ำที่ควบแน่นในอุโมงค์ไหลไปไกลจากตัวบ้านเท่ากับความยาวของอุโมงค์ มีการทำที่หลุมซึม/ดูดความชื้นตรงปลายเพื่อให้น้ำซึมลงใต้ดินเร็วที่สุด จึงลดปัญหาเรื่องเชื้อราทางด้านปากท่อที่จะเข้าบ้าน  ปัญหาเรื่องสัตว์เลื้อยคลานจะต้อง seal อุโมงค์ให้ดีด้วยตะแกรงทุกๆ ด้าน ทั้งด้านทางอากาศไหลเข้า และด้านในบ้าน   รวมทั้งควรจะติดตั้ง air filter ด้านในบ้านก่อนจะปล่อยอากาศเข้ามา  รวมทั้งควรจะมีระบบวาวล์เปิดปิดเพื่อควบการทำงานเมื่อต้องการ  ด้วยระบบ passive แบบนี้จะมีปริมาณอากาศไหลช้ามากทำให้ปัญหาการนำภายเชื้อโรคด้วยลมจึงค่อนข้างน้อย แต่ถ้าเราใจร้อนติดพัดลมเร่งการไหลของอากาศก็อาจต้องหามาตรการควบคุมให้มากขึ้น

หาอ่านเทคนิคอื่นๆ (เช่น การทำความสะอาดอุโมงค์ลม) เพิ่มเติมได้ที่ http://www.ehow.com/how_7892203_use-underground-air-condition-home.html

ส่วนในระบบ Closed loop system จะมีต้นทุนสูงกว่าด้วยการใช้อากาศภายในอาคารไหลเวียนลงไปใต้ดินเพื่อลดอุณหภูมิก่อนจะไหลกลับเข้ามาในอาคาร  ลองอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้จาก

http://phelpsheatingandair.com/geothermal_how.php
http://en.wikipedia.org/wiki/Ground-coupled_heat_exchanger

ส่วนระบบ combination จะมีตัวสลับให้ใช้งานได้ทั้ง 2 แบบ


ตอบ: จากที่อ่านข้อมูลใน Wiki มีการทดลองในบังกลาเทศและรัฐฟลอริดาอเมริกาซึ่งมีสภาพอากาศร้อนชื้นคล้ายๆ ประเทศไทย ดูเหมือนว่าจะไม่ค่อยได้ผลนัก (ค่า COP แค่ 1.5-3) แต่ในอังกฤษหรือตุรกีที่มีสภาพภูมิอากาศแบบอบอุ่นจะได้ผลดี (ค่า COP ได้มากกว่า 20)

https://en.m.wikipedia.org/wiki/Ground-coupled_heat_exchanger

Renata Limited, a prominent pharmaceutical company in Bangladesh, tried out a pilot project trying to find out whether they could use the Earth Air Tunnel technology to complement the conventional air conditioning system. Concrete pipes with a total length 60 feet (~18¼m), inner diameter 9 inches, (~23 cm) outer diameter 11 inches (~28cm) were placed at a depth of 9 feet (~2¾m) underground and a blower of 1.5 kW rated power was employed. The underground temperature at that depth was found to be around 28 °C. The mean velocity of air in the tunnel was about 5 m/s. The coefficient of performance (COP) of the underground heat exchanger thus designed was poor ranging from 1.5–3. The results convinced the authorities that in hot and humid climates, it is unwise to implement the concept of Earth-Air heat exchanger. The cooling medium (earth itself) being at a temperature approaching that of the ambient environment happens to be the root cause of the failure of such principles in hot, humid areas (parts of Southeast Asia, Florida in the U.S. etc.). However, investigators from places like Britain and Turkey have reported very encouraging COPs-well above 20.
 

ผมสันนิษฐานว่า อากาศร้อนและชื้นที่วิ่งผ่านผิวท่อที่ได้รับความเย็นจากดินจะทำให้ความชื้นในอากาศควบแน่นกลั่นตัวเป็นหยดน้ำ การเปลี่ยนสถานะจากก๊าซ (ไอน้ำในอากาศร้อน) เป็นของเหลว (หยดน้ำ) จะเกิดการคายความร้อนบางส่วนออกมา (ซึ่งตรงข้ามกับการเปลี่ยนน้ำที่เป็นของเหลวให้กลายเป็นไอจะต้องให้ความร้อนเข้าไป)

เมื่อบวกลบกันแล้วจึงทำให้อุณหภูมิขาออกไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง แต่ก็มีข้อดีก็คืออากาศที่ออกมาจากท่อจะมีความชื้นลดลง น่าจะลดความไม่สบายตัวจากความเหนียวเหนอะหนะได้บ้าง

ผมคิดว่าถ้าเพิ่มพื้นที่ผิวของท่อโดยการใช้ท่อที่มีขนาดเล็กลงแต่ใช้หลายๆเส้นเช่น เปลี่ยนจากท่อ PVC 4 นิ้ว 5 ท่อนต่อเข้าด้วยกันตรงๆ ยาว 20 เมตร ไปใช้เป็นท่อ PE 16mm แบบบางสัก 10 เส้น จะช่วยเพิ่มพื้นที่สัมผัสกับอากาศเย็นในดินและขังอากาศไว้ในท่อได้นานกว่าการใช้ท่อเส้นใหญ่เดี่ยวๆ (อากาศไหลช้ากว่า) ข้อดีอีกอย่างหนึ่งของท่อ PE คือไม่ต้องเปลืองเงินซื้อกาวมาต่อท่อและท่อ PE เป็นท่อที่เหนียวไม่กรอบแตกง่ายสามารถขดเป็นวงหรือดัดโค้งซิกแซ็กได้ ทำให้เราสามารถทำงานในพื้นที่ไกล้ๆ ได้ โดยไม่ต้องขุดดินไปเป็นระยะทางไกลๆ

อีกประการหนึ่ง ข้อมูลใน Wiki แนะนำให้ใช้ความยาวท่อประมาณ 30 เมตรก็เพียงพอ แต่ผมคิดว่าในสภาพอากาศร้อนชื้น การเพิ่มความยาวของท่อให้มากขึ้นอาจจะเป็น 100 เมตร หรืออาจจะถึง 200 เมตร น่าจะช่วยลดอุณหภูมิและความชื้นของอากาศลงได้มากกว่าท่อที่ยาวเพียง 20-30 เมตรเพราะความชื้นจะลดลงไปตามระยะความยาวท่อทำให้การกลั่นตัวเป็นหยดน้ำน้อยลงและอุณหภูมิของอากาศก็จะลดลงไปเรื่อยๆ เช่นกัน แต่อาจจะต้องทำจุดระบายน้ำเพิ่ม

สำหรับท่อทางออกถ้าหุ้มด้วยฉนวนกันความร้อนหรือใช้ท่อฉนวนโฟมสีดำๆ ที่ใช้หุ้มท่อแอร์ก็น่าจะช่วยให้ประสิทธิภาพของระบบดีขึ้น

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: เมษายน 08, 2018, 02:33:30 PM โดย วรพจน์ » บันทึกการเข้า

-------
rasit
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 693


« ตอบ #1385 เมื่อ: สิงหาคม 16, 2019, 02:41:53 PM »

มาคอยติดตามผลงานครับ
บันทึกการเข้า
นายเติมใจ
122/134 หมู่บ้านแสนเก้าโฮม หมู่ 2 ตำบลบึง อำาเภอศรีราช จังหวัดชลบุรี 20230
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 1441



« ตอบ #1386 เมื่อ: ธันวาคม 17, 2022, 02:15:39 AM »

ห่างหายไปนาน แวะมาเยี่ยมเยียนครับผม คิดถึงนะครับ


Liked By: vigo74, laihan, Sommai S.
บันทึกการเข้า

หน้า: 1 ... 77 78 79 80 81 82 83 84 85 86 [87]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป: