สุนนท์กุล
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 1936
คนไท หัวใจเกษตรธรรมชาติ
|
ต้องขอขอบคุณทั้งสองท่านมากครับ ไม่ทราบว่า ups dc start มี่ยี้ห้ออะไรบ้างเพื่อเวลาท่านอื่นเข้ามาอ่านแล้วเจอปัญหานี้ ที่นี้ขอถามว่าเมื่อผมต่อ tv21นิ้ว 85w กล่องรับดาวเทียม psi ok 5w batt GS 120 เปิดได้เพียงแค่ 30 นาที ก็จะตัดดับไป ผมวัดไฟดูก็ได้ 12.3 volt ไม่ทราบว่าจะตรวจสอบ batt ว่ายังดีอยู่หรือเสื่อมแล้วหรือว่ามันได้ประมาณนี้ครับ มีวิธีการตรวจสอบ batt หรือเปล่าครับ
เรียกว่าเทสโหลด ใช้ประเมินสภาพความจุของแบตฯ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
อเนก สุนนท์กุล ทำระบบสูบน้ำใช้ไฟฟ้าจากแดด LineID=0849099699เน้นสอนแนะให้ดูแลระบบเองได้ 0619355245,0968363965
|
|
|
eaxman
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 91
|
รบกวนสอบถาม คุณนพ ครับ ผ่านมาที่บอร์ดนี้ ก็เลยสงสัยถามซะหน่อย ครับ 1. ตัว Control Charge คำว่า 10A นี่หมายถึงอย่างไรครับ ผมเข้าใจว่ามันก็คือกระแสใช้ได้ไม่เกิน 10A แต่มันครอบคลุม ทั้งกระแสที่มาจากแผง และ กระแสที่จ่ายออกไปใช้งานที่ขา DC ด้วยใช่ไหมครับ คือ ไม่เกิน 10A ทั้งเข้า ทั้งออก ผมเข้าใจถูกต้องไหมครับ konthain(นพ): ตอบข้อ 1. นะครับ เข้าใจถูกต้องแล้วครับ ตัว Control Charge จะมีพิกัด ควบคุมกระแสสูงสุดที่ไหลผ่านวงจร ทั้งขาเข้า(รับมาจากแผงโซล่าเซล) ทั้งขาออกไปต่อที่แบตเตอรี่ และขาออกไปจ่ายใ้ห้โหลด ไม่เกินค่าพิกัดคือ 10 A. (ตอบยาวไปหรือเปล่า )2. จริงๆ แล้ว แบตเตอรี่ ที่ใช้กับรถยนต์ทั่วไป เช่น ตัวอย่าง 12V-40A ก็จะได้ 480 Watt คำถามครับพลังงานที่เราจะใช้ได้จาก แบตจริงๆ เราจะใช้ได้ประมาณกี่เปอร์เซ็นต์ของความจุแบตตามตัวอย่างที่ผมเสนออ่ะครับ ขอบคุณครับ konthain(นพ): ตอบในข้อ 2. ถ้าจะตอบให้เข้าใจจริงๆจะยาวมากเพราะ เรื่องของแบตเตอรี่ที่ใช้ในรถยนต์ ที่เราเอามาใช้กับระบบโซล่าเซลนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นแบบเตอรี่แบบ กรด-ตะกั่ว ซึ่งเป็นแบตเตอรี่ที่มีข้อจำกัดอยู่พอสมควร เช่น การคายประจุหรือการนำกระแสไฟไปใช้งาน ต้องเป็นแบบคายประจุไปน้อยๆ(ภาษาวิชาการคือ การคายประจุที่เหมาะสมคือ 0.2 C( 20 % ของความจุ) หรือถ้าจ่ายกระแสออกไปมากๆก็ไปควรเกิน 1 C ( 100 % ของความจุ ภายใน 1 ชั่วโมง)หรือยิ่งปล่อยให้มีการคายประจุหรือใช้งานถึง 2 C ( 200 % ของความจุ ภายใน 30 นาที)มิเช่นนั้นแบตเตอรี่จะเสียไปเลย ถ้ามาดูให้เป็นรูปธรรม ก็ต้องมาทำความเข้าใจภายในแบตเตอรี่แบบ กรด-ตะกั่ว ที่ใช้ในรถยนต์แบบ 12 V ที่กล่าวถึงกันก่อนนะครับ แบตเตอรี่ กรด-ตะกั่ว จะมี Cell อยู่ 6 Cell แต่ละเซลจะมีแรงดัน 2.1 V. ทำให้เมื่อเราเอา Multi Meter วัดแรงดันจากแบตเตอรี่จะได้แรงดัน 12.ุ6 - 12.7 V. (แต่ก็เรียกกันที่ตัวเลขกลมๆคือ 12 V. )การจะชาร์จหรือประจุไฟกลับก็ต้องใช้แรงดัน 1.1 - 1.5 เท่าของแต่ละเซลซึ่งก็คือชาร์จด้วยแรงดัน 2.2 - 2.5 V. ต่อเซลหรือชาร์จด้วยแรงดันรวม 13.2 V. ถึงไม่เกิน 15 V.
ว่ามาเสียยาว สรุปสั้นๆก็คือควรจะใช้กระแสไป 20 % ของความจุก็ควรจะทำการประจุหรือชาร์จไฟกลับเข้าไปใหม่ ถ้าทำได้แบบนี้จะเป็นการยืดอายุให้ใช้แบตเตอรี่ได้นานๆครับ  ขออภัยที่มาตอบช้าหน่อยนะครับ วันนี้มีอะไรวุ่นวายมากจริงๆ  ขอบคุณมากครับ งั้นแสดงว่า กระแสควรอยู่ที่ประมาณ 80%: 12.4V หรือ ต่ำกว่านี้นิดหน่อย ก็น่าจะยัง โอเคอยู่นะครับ แล้วก็ชาร์ตใหม่...
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
สุนนท์กุล
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 1936
คนไท หัวใจเกษตรธรรมชาติ
|
เรื่องของแบตเตอรี่ที่ใช้ในรถยนต์ ที่เราเอามาใช้กับระบบโซล่าเซลนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นแบบเตอรี่แบบ กรด-ตะกั่ว ซึ่งเป็นแบตเตอรี่ที่มีข้อจำกัดอยู่พอสมควร เช่น การคายประจุหรือการนำกระแสไฟไปใช้งาน ต้องเป็นแบบคายประจุไปน้อยๆ(ภาษาวิชาการคือ การคายประจุที่เหมาะสมคือ 0.2 C( 20 % ของความจุ) หรือถ้าจ่ายกระแสออกไปมากๆก็ไปควรเกิน 1 C ( 100 % ของความจุ ภายใน 1 ชั่วโมง)หรือยิ่งปล่อยให้มีการคายประจุหรือใช้งานถึง 2 C ( 200 % ของความจุ ภายใน 30 นาที)มิเช่นนั้นแบตเตอรี่จะเสียไปเลย ถ้ามาดูให้เป็นรูปธรรม ก็ต้องมาทำความเข้าใจภายในแบตเตอรี่แบบ กรด-ตะกั่ว ที่ใช้ในรถยนต์แบบ 12 V ที่กล่าวถึงกันก่อนนะครับ แบตเตอรี่ กรด-ตะกั่ว จะมี Cell อยู่ 6 Cell แต่ละเซลจะมีแรงดัน 2.1 V. ทำให้เมื่อเราเอา Multi Meter วัดแรงดันจากแบตเตอรี่จะได้แรงดัน 12.ุ6 - 12.7 V. (แต่ก็เรียกกันที่ตัวเลขกลมๆคือ 12 V. )การจะชาร์จหรือประจุไฟกลับก็ต้องใช้แรงดัน 1.1 - 1.5 เท่าของแต่ละเซลซึ่งก็คือชาร์จด้วยแรงดัน 2.2 - 2.5 V. ต่อเซลหรือชาร์จด้วยแรงดันรวม 13.2 V. ถึงไม่เกิน 15 V.
ว่ามาเสียยาว สรุปสั้นๆก็คือควรจะใช้กระแสไป 20 % ของความจุก็ควรจะทำการประจุหรือชาร์จไฟกลับเข้าไปใหม่ ถ้าทำได้แบบนี้จะเป็นการยืดอายุให้ใช้แบตเตอรี่ได้นานๆครับ
นี่คงเป็นอีกหนึ่งเหตุ-ผล ที่แตกต่างจากแบตฯ Ni-MH, Li-ion &แบตเตอรี่ลิเธียมโพลิเมอร์ แล้ว แบตฯแบบ Deep มีหลักการทำงานอย่างไรล่ะครับ ผมยังไม่ทราบจริงๆ อ่านแล้วไม่เข้าใจ http://www.howstuffworks.com/question219.htm
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤศจิกายน 12, 2012, 01:46:13 AM โดย สุนนท์กุล »
|
บันทึกการเข้า
|
อเนก สุนนท์กุล ทำระบบสูบน้ำใช้ไฟฟ้าจากแดด LineID=0849099699เน้นสอนแนะให้ดูแลระบบเองได้ 0619355245,0968363965
|
|
|
konthain(นพ)
Administrators
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 9910
ยิ่งให้ไปยิ่งได้มา การให้ที่ยิ่งใหญ่ไม่สิ้นสุดคือให้ปัญญาและมิตรภาพ
|
แบตเตอรี่แบบที่ใช้ในรถยนต์ทั่วไปที่เรานำมาใช้กับระบบโซล่าเซล จะเป็นแบบกรด-ตะกั่ว lead-acid มีข้อจำกัดหลายอย่าง ปกติการใช้งานจะปล่อยให้จ่ายประจุไป 20 % ก็ต้องประจุไฟ หรือชาร์จกลับเข้าไปใหม่อย่างมาก ก็จะยอมปล่อยให้จ่ายประจุไปถึงแค่ 50 % ของความจุ ถ้าจ่ายเกินกว่านั้นหรือปล่อยแรงดันของแต่ละเซลต่ำกว่า 1.75 V. แบตเตอรี่จะเสียหรือไม่ควรปล่อย ให้แรงดันต่ำกว่า 10.5 V. ส่วนแบตเตอรี่ deep cycle หรือชื่อเต็ม Deep discharge battery คือแบตเตอรี่ที่ออกแบบให้สามารถใช้งานจนมีประจุภายในต่ำกว่า 80% ได้ดี พวกนี้จะใช้โลหะ calcium ผสมลงในแผ่นธาตุขั้วลบที่เดิมเป็นโลหะตะกั่วเพียว และยังออกแบบให้แผ่นธาตุหนาขึ้น ส่งผลให้จ่ายกระแสได้สูง และใช้งานได้จนเหลือประจุน้อยโดยไม่ส่งผลต่อประสิทธิภาพมากนัก ในขณะเดียวกันก็มีอายุการใช้งานนานขึ้น อัตราการคายประจุสูญเสียก็ต่ำ ที่สำคัญราคาแพงกว่าแบตเตอรี่แบบกรด-ตะกั่ว 2 เท่าขึ้นไป 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
สำนึกดีครับรับจ้างล้างรถ และแจกจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง 
|
|
|
konthain(นพ)
Administrators
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 9910
ยิ่งให้ไปยิ่งได้มา การให้ที่ยิ่งใหญ่ไม่สิ้นสุดคือให้ปัญญาและมิตรภาพ
|
รบกวนสอบถาม คุณนพ ครับ ผ่านมาที่บอร์ดนี้ ก็เลยสงสัยถามซะหน่อย ครับ 1. ตัว Control Charge คำว่า 10A นี่หมายถึงอย่างไรครับ ผมเข้าใจว่ามันก็คือกระแสใช้ได้ไม่เกิน 10A แต่มันครอบคลุม ทั้งกระแสที่มาจากแผง และ กระแสที่จ่ายออกไปใช้งานที่ขา DC ด้วยใช่ไหมครับ คือ ไม่เกิน 10A ทั้งเข้า ทั้งออก ผมเข้าใจถูกต้องไหมครับ konthain(นพ): ตอบข้อ 1. นะครับ เข้าใจถูกต้องแล้วครับ ตัว Control Charge จะมีพิกัด ควบคุมกระแสสูงสุดที่ไหลผ่านวงจร ทั้งขาเข้า(รับมาจากแผงโซล่าเซล) ทั้งขาออกไปต่อที่แบตเตอรี่ และขาออกไปจ่ายใ้ห้โหลด ไม่เกินค่าพิกัดคือ 10 A. (ตอบยาวไปหรือเปล่า )2. จริงๆ แล้ว แบตเตอรี่ ที่ใช้กับรถยนต์ทั่วไป เช่น ตัวอย่าง 12V-40A ก็จะได้ 480 Watt คำถามครับพลังงานที่เราจะใช้ได้จาก แบตจริงๆ เราจะใช้ได้ประมาณกี่เปอร์เซ็นต์ของความจุแบตตามตัวอย่างที่ผมเสนออ่ะครับ ขอบคุณครับ konthain(นพ): ตอบในข้อ 2. ถ้าจะตอบให้เข้าใจจริงๆจะยาวมากเพราะ เรื่องของแบตเตอรี่ที่ใช้ในรถยนต์ ที่เราเอามาใช้กับระบบโซล่าเซลนั้น ส่วนใหญ่จะเป็นแบบเตอรี่แบบ กรด-ตะกั่ว ซึ่งเป็นแบตเตอรี่ที่มีข้อจำกัดอยู่พอสมควร เช่น การคายประจุหรือการนำกระแสไฟไปใช้งาน ต้องเป็นแบบคายประจุไปน้อยๆ(ภาษาวิชาการคือ การคายประจุที่เหมาะสมคือ 0.2 C( 20 % ของความจุ) หรือถ้าจ่ายกระแสออกไปมากๆก็ไปควรเกิน 1 C ( 100 % ของความจุ ภายใน 1 ชั่วโมง)หรือยิ่งปล่อยให้มีการคายประจุหรือใช้งานถึง 2 C ( 200 % ของความจุ ภายใน 30 นาที)มิเช่นนั้นแบตเตอรี่จะเสียไปเลย ถ้ามาดูให้เป็นรูปธรรม ก็ต้องมาทำความเข้าใจภายในแบตเตอรี่แบบ กรด-ตะกั่ว ที่ใช้ในรถยนต์แบบ 12 V ที่กล่าวถึงกันก่อนนะครับ แบตเตอรี่ กรด-ตะกั่ว จะมี Cell อยู่ 6 Cell แต่ละเซลจะมีแรงดัน 2.1 V. ทำให้เมื่อเราเอา Multi Meter วัดแรงดันจากแบตเตอรี่จะได้แรงดัน 12.ุ6 - 12.7 V. (แต่ก็เรียกกันที่ตัวเลขกลมๆคือ 12 V. )การจะชาร์จหรือประจุไฟกลับก็ต้องใช้แรงดัน 1.1 - 1.5 เท่าของแต่ละเซลซึ่งก็คือชาร์จด้วยแรงดัน 2.2 - 2.5 V. ต่อเซลหรือชาร์จด้วยแรงดันรวม 13.2 V. ถึงไม่เกิน 15 V.
ว่ามาเสียยาว สรุปสั้นๆก็คือควรจะใช้กระแสไป 20 % ของความจุก็ควรจะทำการประจุหรือชาร์จไฟกลับเข้าไปใหม่ ถ้าทำได้แบบนี้จะเป็นการยืดอายุให้ใช้แบตเตอรี่ได้นานๆครับ  ขออภัยที่มาตอบช้าหน่อยนะครับ วันนี้มีอะไรวุ่นวายมากจริงๆ  ขอบคุณมากครับ งั้นแสดงว่า กระแสควรอยู่ที่ประมาณ 80%: 12.4V หรือ ต่ำกว่านี้นิดหน่อย ก็น่าจะยัง โอเคอยู่นะครับ แล้วก็ชาร์ตใหม่... อธิบายง่ายๆก็คือแบตเตอรี่แบบ กรด-ตะกั่ว เมื่อจ่ายกระแสไป 20 % ของความจุก็ควรชาร์จไฟกลับ ได้แล้วสูงสุดไม่ควรจ่ายกระแสเกิน 50 % ของความจุหรือแรงดันต่ำสุดในแต่ละเซลไม่ควรต่ำกว่า 1.75 V. หรือแรงดันรวมไม่ควรต่ำกว่า 10.5 V. ครับ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
สำนึกดีครับรับจ้างล้างรถ และแจกจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง 
|
|
|
busy911
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 2
|
สวัสดีพี่ๆสมาชิกทุกท่านครับ พอดีผมกำลังมีปัญหาเรื่องการชาน์จแบตเตอรี่ครับ คือว่าผมใช้แผงโซล่าเซล130w.จำนวน12แผงและแบตเตอรี่3K 160Ah 12ลูกใช้ตัวชาน์จของลีโอนิครุ่น SCP-4860 series 60Ah inverterของลีโอนิครุ่น3500w.ระบบ48V. ปัญหามีอยู่ว่า ในเลากลางวันผมจะใช้ไฟมากทั้งเปิดคอม พัดลม ตู้เย็น ทีวี เครื่องซักผ้า ชาน์จรถกล็อฟ(อันนี้แหละคือตัวปัญหา)รถกล็อฟ กินไฟมาก ผมจึงเพิ่มแผงอีก4แผงแต่คราวนี้เป็นแผงขนาด280w.ระบบ24v.เอามาต่ออนุกรม2แผงแล้วจับมาขนานเป็น2ชุดจับยัดเข้าไปในตัวชาน์จเดิม(ขนาด60Ah)ผมดูกระแสที่ชาน์จได้ประมาณ38-42Ah ในเวลาแดดจัดๆ ทีนี้ปัญหามีอยู่ว่าบางวันผมไม่อยู่หรือไม่ได้ใช้ไฟเลยไอ้เจ้าแผงมันจะชาน์จจนแบตเตอรี่นี่เดือดผักๆกลิ่นน้ำกรดฟุ้งไปหมดแสบตามากเลยผมกลัวว่าแบตมันจะเสียเร็ว อยากให้คุณนพวิเคราะห์ให้ทีอ่ะครับว่าระบบของผมจะมีปัญหาไหมครับ ปล.แผง280W.ผมเพิ่งใส่ไปได้1อาทิตย์ทำเบลคเกอร์ตังหากเวลาไมอยู่หลายวันจะสับลงเหลือแต่130w.ให้มันชาน์จทิ้งไว้ ขอบพระคุณมากครับ 
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: พฤศจิกายน 26, 2012, 02:14:18 PM โดย busy911 »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
สุนนท์กุล
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 1936
คนไท หัวใจเกษตรธรรมชาติ
|
อาการเกิดนี้จากแรงดันสูงเกินไป (กระแสชาร็จในระบบแบตฯ (160A/10%) x 12 รับได้ มากกว่า 100A/hr อยู่แล้ว แต่เท่าที่อ่านดูกระแสในระบบยังไม่มากจนเป็นอันตรายต่อคอนโทรลชาร์จและแบตฯ แต่แรงดันไฟฟ้าในระบบเมื่อเพิ่ม 280Wอนุกรม แรงดันสูงเกิน) 280W แค่ต่อขนานแรงดันก็พอเหมาะอยู่แล้ว หากไปต่ออนุกรมกัน สองแผง แล้วมาขนานสองชุด แรงดันน่าจะเกินกว่า 60V น้ำกรดเดือดปุดๆ เหมือนต้มน้ำแน่ๆ  ที่น่าห่วงคือตัวแบตฯ และคอนโทรลชาร์จจะอายุสั้นลง วาดผังการต่อให้ดูคร่าวๆได้ใหม
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ธันวาคม 03, 2012, 03:27:20 PM โดย สุนนท์กุล »
|
บันทึกการเข้า
|
อเนก สุนนท์กุล ทำระบบสูบน้ำใช้ไฟฟ้าจากแดด LineID=0849099699เน้นสอนแนะให้ดูแลระบบเองได้ 0619355245,0968363965
|
|
|
pati
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 85
|
ขอถาม อ.ผู้รู้หน่อยค่ะ คือหนูดูไม่รู้เรื่องจริงๆ เพราะไม่ได้เรียนมาทางนี้เลย แต่มีคำถามว่าถ้าเราจะต่อตรงจากแผงโซลา มาที่ตัวสูบน้ำมอเตอร์รถจักรยานเข้าปั้มชัก เลยได้ไหม(ต้องการแค่สูบน้ำมาใช้ทางการเกษตรเท่านั้น)คือพอมีแดดเครื่องก็ทำงานนะค่ะ ขอบคุณค่ะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
สุนนท์กุล
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 1936
คนไท หัวใจเกษตรธรรมชาติ
|
ต่อตรงแบบไม่ใช้แบตฯได้ แต่เสี่ยงที่มอเตอร์จะไหม้ เมื่อแสงอ่อน ไฟอ่อน มอเตอร์ใด้พลังงานไฟฟ้าไม่พอให้หมุนได้ แต่มีไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดของมอเตอร์ตลอด ทำให้เกิดความร้อน เสี่ยงลวดซ๊อตหรือไหม้ได้ จึงเป็นเหตุ ว่าทำไมต้องต่อแบตฯพ่วงให้ระบบ ก็เพื่อให้ไฟที่จ่ายให้มอเตอร์มีความสม่ำเมอ(ต้นทุนเพิ่มมากหน่อย แต่ใช้สำรองไฟไว้ใช้ในเวลาไม่มีแสงได้) ทางแก้ มีสองทางให้เลือก 1. ทำสะพานไฟ ไว้โยกสับ ปิด-เปิด เปิดใช้งานเฉพาะช่วงแดดจัด (ยังเสี่ยงไหม้ หากมีเมฆบังแดดบ่อย) 2. ใช้สวิตซ์แสง ตัดการจ่ายไฟให้มอเตอร์เมื่อแสงอ่อน(ทุนไม่เกิน 500บาท)
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ธันวาคม 04, 2012, 03:11:52 PM โดย สุนนท์กุล »
|
บันทึกการเข้า
|
อเนก สุนนท์กุล ทำระบบสูบน้ำใช้ไฟฟ้าจากแดด LineID=0849099699เน้นสอนแนะให้ดูแลระบบเองได้ 0619355245,0968363965
|
|
|
pati
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 85
|
ขอบพระคุณอย่างสูงค่ะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
chamni
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 895
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
vantalent
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 26
|
ด้วยคนครับ........คืออยากได้โซล่าเซลล์ไว้ใช้ซักชุดครับ คือจะเอาไว้ใช้กับปั้มชัก 2 นิ้ว มอร์เตอร์ 2 แรง แต่ไม่มีความรู้ครับ ว่าต้องใช้แผงโซล่าเซลล์กี่วัต ขอผู้รู้ช่วยแนะนำด้วยครับ แล้วก็ราคาประมาณเท่าไร่(แบบครบชุด) ขอบคุณล่วงหน้าครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
สุนนท์กุล
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
เพศ: 
กระทู้: 1936
คนไท หัวใจเกษตรธรรมชาติ
|
ด้วยคนครับ........คืออยากได้โซล่าเซลล์ไว้ใช้ซักชุดครับ คือจะเอาไว้ใช้กับปั้มชัก 2 นิ้ว มอร์เตอร์ 2 แรง แต่ไม่มีความรู้ครับ ว่าต้องใช้แผงโซล่าเซลล์กี่วัต ขอผู้รู้ช่วยแนะนำด้วยครับ แล้วก็ราคาประมาณเท่าไร่(แบบครบชุด) ขอบคุณล่วงหน้าครับ
ปั้มชัก 2 นิ้ว เกรดกลาง 6-8000บาท มอร์เตอร์ 2แรง ประมาณราคา อ้างอิงมอเตอร์ 2แรง 24V ใช้กระแสมากกว่า 18-25A, มอเตอร์ 2 แรง 36V ใช้กระแสมากกว่า 14-22A (ขึ้นอยู่กับภาระโหลด) สำหรับระบบ 24V ต้องใช้แบตฯ 12V 100A 2ลูกม สำหรับระบบ 36V ต้องใช้แบตฯ 12V 100A 3ลูก ข้อจำกัดการชาร์จแบตฯ ต้องควบคุมไม่ให้กระแสชาร์จในระบบเกินชั่วโมงล่ะ 10A ต้องใช้แผงโซล่าเซลล์กี่วัตต์ ขึ้นอยู่กับว่า จะใช้ระบบแบบกี่โวลต์ เพราะวัตต์ของแผง คือ ผลคูณระหว่าง แรงดันออกจากแผงคูณกับกระแสไฟสูงสุดที่แผงผลิตได้
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ธันวาคม 16, 2012, 12:48:15 PM โดย สุนนท์กุล »
|
บันทึกการเข้า
|
อเนก สุนนท์กุล ทำระบบสูบน้ำใช้ไฟฟ้าจากแดด LineID=0849099699เน้นสอนแนะให้ดูแลระบบเองได้ 0619355245,0968363965
|
|
|
noppakloa
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 65
|
ขอถามผู้รู้หน่อยครับ มีปั้มโม่ปูน 24 โวลท์ 1 ตัว มีแผง 120 วัต(ที่รัฐแจก) 3 แผง ไม่ใด้ใช้งาน ที่หน้าบ้านมีบ่อลึก 20 กว่าปลอก วัดระยะจากด้านบนถึงน้ำ 5 เมตรถ้าเกิดผมจะเอา3 แผงมาต่อ แล้วใช้สวิตแสง..จะใด้ใหมครับ มีวิธีต่อแบบใหนให้ใช้งานใด้มั้งครับ...
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
nattaphon33
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 129
|
ขอถามผู้รู้หน่อยครับ มีปั้มโม่ปูน 24 โวลท์ 1 ตัว มีแผง 120 วัต(ที่รัฐแจก) 3 แผง ไม่ใด้ใช้งาน ที่หน้าบ้านมีบ่อลึก 20 กว่าปลอก วัดระยะจากด้านบนถึงน้ำ 5 เมตรถ้าเกิดผมจะเอา3 แผงมาต่อ แล้วใช้สวิตแสง..จะใด้ใหมครับ มีวิธีต่อแบบใหนให้ใช้งานใด้มั้งครับ...
แผ่นที่ว่านี้ใช่แผ่นแบบอมอฟัสหรือเปล่าครับแผ่นสีดำๆ3แผ่นอ่ะครับถ้าเป็นแผ่นรุ่นนี้ไม่สามารถต่อได้ครับเพราะแผงจะจ่ายไฟแรงดันสูง48-60โวลต์แต่กระแสตำ1.12แอมป์ต่อแผ่นเท่านั้นแต่ปั้มโม่ปูนต้องการไฟ24โวลต์กระแส6-12แอมป์ครับแต่ถ้าใช้ปั้มไม่นานนักและน้ำไม่ลึกเกิน8เมตรแนะนำต่อตรงจากแผงลงแบตเลยโดยการนำแบตเตอรี่12โวลต์60แอมป์2ลูกมาอนุกรมกันให้ได้ไฟ24โวลต์ชารท์ทิ้งใว้หนึ่งวันจะใช้ปั้มได้นานประมาน1ชัวโมงแต่ถ้าชารท2-3แบตจะเต็มเต็มจะใช้งานได้นานกว่าแต่ถ้าหากไม่การใช้งานนาน2-3วันควรถอดสายไฟจากแผงโซล่าเซลล์ออกเพรราะจะทำให้เกิดการชารท์เกินแบตเดีอดเสี่อมไว มีปัญหาปรึกษาไดครับเพราะผมกำลังทำโปรเจคนี้อยู่ครับ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
hazaba
เกษตรกรมือใหม่
ออฟไลน์
กระทู้: 1
|
สงสัยมาก ท่านผู้รู้ช่วยหน่อยครับ ถ้าเราต่อแผงโซล่าเซลล์เข้ากับแบตเตอรี่โดยตรงโดยไม่ผ่านตัวควบคุมการประจุ ทำได้รึเปล่าครับ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|