หน้า: 1 ... 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 [63] 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 ... 433   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ชวนสมาชิกทำปุ๋ยหมักวิธีใหม่ของแม่โจ้ ไม่ต้องพลิกกลับกอง (มีสารบัญ)  (อ่าน 2990711 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 2 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
Gnoy
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2078


« ตอบ #992 เมื่อ: มิถุนายน 08, 2012, 07:18:51 PM »

- เยี่ยมเลยครับคุณครูใหญ่นักเรียนเด็กหญิงดวงพร ถ้าปุ๋ยครบ 1 เดือนแล้วทำให้แห้ง แห้งแล้วค่อยนำไปใช้ ตอนใช้อย่าใส่เยอะนะครับ ปุ๋ยมันแรงงงงง ลองใช้ในอัตราส่วนดินต่อปุ๋ย 7-10 ส่วนต่อ 1 ส่วนนะครับ

แง่ม แง่ม  โกรธ คุณครูใหญ่นักเรียนเด็กหญิงดวงพร ทำปุ๋ยแค่เดือนเดียว ได้ปุ๋ยทดลองใช้แล้ว อิจฉาจังแฺฮะ
เอ หรือว่าเราจะทำกองเล็ก ๆ ดูมั่งดีป่าวเนี่ย จะได้มีปุ๋ยทดลองใช้เร็ว ๆ  ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ


Liked By: ดวงพร, tera, AMOL
บันทึกการเข้า

kmsmily
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3554


« ตอบ #993 เมื่อ: มิถุนายน 08, 2012, 07:37:53 PM »

ธาตุอาหารต่างๆที่คาดว่าจะได้จากการหมักปุ๋ยด้วยวัตถุดิบฟางข้าว 2 ตัน ขี้วัว 600 กก.
ไนโตรเจน (N)                         22          กก.
ฟอสฟอรัส (P)                   5.3   กก.
โพแทสเซียม (K)              41      กก.
แคลเซียม (Ca)                12.2   กก.
แมกนีเซียม (Mg)               7.1   กก.
กำมะถัน (S)                     2.14 กก.
เหล็ก  (Fe)                    10.95 กก.
แมงกานีส (Mn)                1.33 กก.
สังกะสี (Zn)                    1.04 กก.
ทองแดง (Cu)                  1.80 กก.
โบรอน (B)                     1.22 กก.
โมลิบดีนัม (Mo)                 -
ซีลิกา (Si)                    41.90  กก.
คลอรีน (Cl)                   55     กก.
อัตราการสูญเสียที่เกิดจากขบวนการหมักประมาณ 20-30 %(หรืออย่างไรครับอาจารย์) 
ถ้าวัตถุดิบที่แตกต่างธาตุอาหารที่ได้ก็จะแตกต่างไปด้วย   ข้อมูลคงมีประโยชน์กับเพื่อนๆสมาชิกไม่มากก็น้อยนะครับ


จากข้อมูลข้างบน สมมุติว่าเราทำปุ๋ยสำเร็จเป็นปุ๋ย (เพราะถ้าทำไม่สำเร็จ จีน้อยคงจะเป็นปุ๋ยไปซะเอง  โกรธ )
เราสามารถส่งตัวอย่างปุ๋ยเข้าห้องแล็ปตรวจเช็คค่าธาตุิิอาหารได้หรือเปล่าคะ
ถ้าได้ ต้องส่งที่หน่วยงานไหน ใช้เวลาเท่าไหร่ มีค่าใช้จ่ายในการตรวจเช็คประมาณเท่าไหร่คะ
 ยิ้ม

เช็คฟรีที่สำนักงานพัฒนาที่ดินประจำจังหวัดครับ
ถ้าเสียตังค์ตัวอย่างละ 3,500 บาทที่กรมวิชาการเกษตรบางเขน ครับ
ข้อเสียขอการเช็คคือจะเช็คตามค่ามาตราฐานที่อาจารย์นำมาโพส  ธาตุอาหารรองและจุลธาตุไม่เคยเช็ค
 ตรงนี้แหล่ะครับที่ผมว่านักวิชาการมองข้ามทำให้การใช้ปุ๋ยของเกษตรกรไม่มีประสิทธิภาพ
ผลผลิตเลยไม่ได้ตามเป้าหมายที่พยายามทำกันอยู่ ครับ
บันทึกการเข้า
Gnoy
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2078


« ตอบ #994 เมื่อ: มิถุนายน 08, 2012, 07:42:25 PM »

ธาตุอาหารต่างๆที่คาดว่าจะได้จากการหมักปุ๋ยด้วยวัตถุดิบฟางข้าว 2 ตัน ขี้วัว 600 กก.
ไนโตรเจน (N)                         22          กก.
ฟอสฟอรัส (P)                   5.3   กก.
โพแทสเซียม (K)              41      กก.
แคลเซียม (Ca)                12.2   กก.
แมกนีเซียม (Mg)               7.1   กก.
กำมะถัน (S)                     2.14 กก.
เหล็ก  (Fe)                    10.95 กก.
แมงกานีส (Mn)                1.33 กก.
สังกะสี (Zn)                    1.04 กก.
ทองแดง (Cu)                  1.80 กก.
โบรอน (B)                     1.22 กก.
โมลิบดีนัม (Mo)                 -
ซีลิกา (Si)                    41.90  กก.
คลอรีน (Cl)                   55     กก.
อัตราการสูญเสียที่เกิดจากขบวนการหมักประมาณ 20-30 %(หรืออย่างไรครับอาจารย์) 
ถ้าวัตถุดิบที่แตกต่างธาตุอาหารที่ได้ก็จะแตกต่างไปด้วย   ข้อมูลคงมีประโยชน์กับเพื่อนๆสมาชิกไม่มากก็น้อยนะครับ



จากข้อมูลข้างบน สมมุติว่าเราทำปุ๋ยสำเร็จเป็นปุ๋ย (เพราะถ้าทำไม่สำเร็จ จีน้อยคงจะเป็นปุ๋ยไปซะเอง  โกรธ )
เราสามารถส่งตัวอย่างปุ๋ยเข้าห้องแล็ปตรวจเช็คค่าธาตุิิอาหารได้หรือเปล่าคะ
ถ้าได้ ต้องส่งที่หน่วยงานไหน ใช้เวลาเท่าไหร่ มีค่าใช้จ่ายในการตรวจเช็คประมาณเท่าไหร่คะ
 ยิ้ม


เช็คฟรีที่สำนักงานพัฒนาที่ดินประจำจังหวัดครับ
ถ้าเสียตังค์ตัวอย่างละ 3,500 บาทที่กรมวิชาการเกษตรบางเขน ครับ
ข้อเสียขอการเช็คคือจะเช็คตามค่ามาตราฐานที่อาจารย์นำมาโพส  ธาตุอาหารรองและจุลธาตุไม่เคยเช็ค
 ตรงนี้แหล่ะครับที่ผมว่านักวิชาการมองข้ามทำให้การใช้ปุ๋ยของเกษตรกรไม่มีประสิทธิภาพ
ผลผลิตเลยไม่ได้ตามเป้าหมายที่พยายามทำกันอยู่ ครับ


ขอบคุณมากค่ะ  
จะได้เป็นข้อมูลเผื่อใครสนใจอยากเช็คค่าปุ๋ยของตัวเอง  ยิงฟันยิ้ม
บันทึกการเข้า
Gnoy
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2078


« ตอบ #995 เมื่อ: มิถุนายน 08, 2012, 07:47:04 PM »

สำหรับท่านที่หาขี้วัวยาก ลองดูเส้นทางบ้านท่าน กะ ชมรมTransporter"ขับผ่านไป ส่งให้ถึงมือ" โดยผู้ขับรถจิตอาสา
ว่่าใกล้เคียงเส้นทางบ้านท่านหรือไม่ แล้วลองคุยกะชมรมดูว่า หากฝากซื้อขี้วัว จะพอฝากได้หรือไม่ อาจจะเป็นอีกช่องทางนึงค่ะ
ดูรายละเอียดที่ลิงค์นี้นะคะ http://www.kasetporpeang.com/forums/index.php?topic=56982.0







Liked By: tera, konthain(นพ), AMOL
บันทึกการเข้า
Gnoy
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2078


« ตอบ #996 เมื่อ: มิถุนายน 08, 2012, 08:03:07 PM »

อีกเรื่องคือ ถ้าอยู่ใน กทม หรือ แหล่งที่หาฟางยาก ลองมองรอบ ๆ นะคะ ว่ามี :-

- ร้านก๋วยเตี๊ยว  ร้านกับข้าว + อาหารตามสั่ง พอที่จะขอเศษผักได้มั๊ย   
- บ้านคนขายผลไม้ที่เป็นรถเข็น เค้าต้องปอกผลไม้ขายทุกวัน ขอเศษเปลือกผลไม้มา เค้าคงไม่หวง 
- แม่ค้าขายผัก ขายผลไม้ ในตลาด มีตั้งหลายเจ้า ที่มีเศษผัก ผลไม้ทิ้งทุกวัน ไปตีสนิทขอมา  ฮืม ถ้าได้ทุกเจ้าก็เหลือจะพอ
- ร้านขายดอกไม้สด ที่ต้องมีเศษตัดแต่งดอกไม้ทุกวัน ขอมาซะ
- ที่บ้านตัวเอง หรือข้าง ๆ บ้านหญ้าเยอะมั๊ย ถ้าเวลาเค้าตัด ไปขอแล้วขนมาจะได้หรือไม่

เอาแค่นี้ก่อน เผื่อลืม ๆ คิดไม่ออก เพราะถ้าไปขอได้ทุกเจ้า คงหาขี้วัวทำไม่ทัน คิ คิ  ยิงฟันยิ้ม ยิงฟันยิ้ม ยิงฟันยิ้ม
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 09, 2012, 11:47:10 AM โดย Gnoy » บันทึกการเข้า
kmsmily
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3554


« ตอบ #997 เมื่อ: มิถุนายน 08, 2012, 08:54:47 PM »

อาจารย์ครับ ผมมีปัญหาครับ
ถ้าเราไม่มีมูลสัตว์ เราจะใช้อะไรเป็นหัวเชื้อจุลินซี ครับ
แล้วอัตราส่วนผสมจะเป็นยังไงครับ ยิงฟันยิ้ม ยิงฟันยิ้ม

- ผจก.โรงเรียนคุณนพครับ คุณครูวิชาการพหูสูตรหมอแดง kmsmily ครับ ใช้อะไรแทนมูลสัตว์ดีครับ เพราะสูตร พด.ก็ยังต้องใช้มูลสัตว์เลย

- ยังไงแล้ว คงต้อง "บริหารจัดการ" ให้มูลสัตว์มาถึงสวนเราให้ได้ อาจต้องไปติดต่อซื้อต่างอำเภอ ต่างจังหวัด ถ้าเรารู้ว่าปีนึงเราจะใช้เท่าไร เราก็ให้เขาขนมาทีละมาก ๆ ไม่ใส่กระสอบก็ยังได้ ก็จะช่วยเฉลี่ยลดค่าขนส่งได้มาก เหนื่อยครั้งแรกครั้งเดียว ก็คล้ายกับกรณีสมาชิก กพพ.หลายท่านที่ดั้นด้นไปต่างจังหวัดเพื่อไปซื้อกล้าพันธุ์ไงครับ
ความรับของมูลสัตว์ไม่ใช่เป็นแค่แหล่งอาศัยของน้องจุลทั้ง 3 ชนิด (มีอะไรบ้างกลับไปค้นคว้าใหม่จะได้จำได้)ครับ
น้องจุลทั้ง 3 ชนิด  ยังต้องอาศัยเกื้อกูลกันกระบวนการย่อยสลายในกองปุ๋ยถึงจะสมบูรณ์
มูลสัตว์จะมีอาหารที่ย่อยง่ายรวมอยู่ด้วยน้องจุลที่ชอบของอ่อนจะทำงานขณะที่ทำงานจะเกิดความร้อนขึ้น
น้องจุนที่ชอบความร้อนปานกลางก็จะตื่นขึ้นมาทำงานย่อยวัตถุที่ย่อยยาก
เมื่อความร้อนสูงขึ้นน้องจุนที่ชอบความร้อนสูงจะจะตื่นขึ้นมาทำงาน  หมุนเวียนกันไปมาอย่างนี้จนอาหารน้องจุลหมดก็จะหยุดการทำงาน
แล้วคิดว่ามูลสัตว์สำคัญไหมครับ

บันทึกการเข้า
thepunyapat
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1750


« ตอบ #998 เมื่อ: มิถุนายน 08, 2012, 11:39:28 PM »

ได้คุยกับชาวนาใกล้ๆบ้านแล้ว เขาบอกว่าไม่น่าสนใจหรอกการหมักปุ๋ยแบบนี้น่ะ เพราะตรงนี้น้ำดี พักนาแค่ไม่ถึงเดือนก็ต้องหว่านใหม่แล้ว เศษฟางต้องขนออกไปให้หมด อาจจะด้วยการอัดก้อนขาย หรือใครสะดวกอยากขนไปเก็บให้วัวกินก็รีบๆมาขนไปฟรีๆได้เลย (ผมจองไว้แล้ว) อย่าทิ้งไว้ในนาให้เห็นนะ เพราะเวลาเอารถไถลงแล้วมันจะพัน ทำงานลำบาก

เขาบอกว่าปุ๋ยที่เราทำกันนี่ เหมาะกับพวกที่นาเป็นดินทราย เพราะต้องอาศัยน้ำฝน มีเวลาหมักพอ อย่างของเขาต้องรีบทำ ต้องอัดปุ๋ยเคมีเท่านั้น ตอนท้ายยังบอกด้วยว่า เพลี้ยมันลงจังเลย เดี๋ยพรุ่งนี้จะไปสุพรรณ เอายันต์กันเพลี้ยซะหน่อย  ตกใจ
อันนี้คือคำพูดของเศษตะกอน เพราะไม่ยอมเปิดใจปรับเปลี่ยน.... แม่เจ้า ....ขนาดเชื้อโรคยังปรับตัว... ลังเล
บันทึกการเข้า
thepunyapat
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1750


« ตอบ #999 เมื่อ: มิถุนายน 09, 2012, 12:23:43 AM »


- ยินดีต้อนรับนักเรียนใหม่ครับคุณเกษตรกรวันหยุด ห้ามนักเรียน thepunyapat แซวมากนะครับ นี่หายไปไหนไม่เข้าชั้นเรียนวันนึงละ คุณครูใหญ่นักเรียนดวงพรช่วยจัดโต๊ะเรียนด้วยนะครับ


นักเรียน + ภารโรง thepunyapat อู้งานอีกแย้วววววว เอ หรือยังไม่ตื่นหว่า รีบมาเช็ดทำความสะอาดโต๊ะเรียนเ็ร็ว ๆๆ จ้าาาาาา
มีนักเรียนหลงลมอาจารย์ มาใหม่อีกคน  ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ


   สะะ.. โกรธ.อะะะ.ๆๆ โกรธ.หวัด...ดี...ครั๋บ....อาา...จารย์... โกรธ อะะะๆๆๆ...อะะะะ... ร้องไห้
........ส่งงๆๆใบลา......กับใบรับรองแพทย์......คับ....
ฮืออออออออ..... ร้องไห้
  
ฮืออออออออ...... ร้องไห้

ฮือ.......อออ ร้องไห้

ฮือๆๆๆๆๆๆๆๆๆ.....ฮือๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ ....... ร้องไห้

ยา....ๆๆ.....ดมมมมม...คาบบบบบ..... ร้องไห้
    ดีนะที่รอบคอบ... เจ๋ง                     อิอิ... แลบลิ้น แลบลิ้น   
บันทึกการเข้า
thepunyapat
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1750


« ตอบ #1000 เมื่อ: มิถุนายน 09, 2012, 12:39:01 AM »

แอ่น แอน แอ๊นนนนนน........

มาดูแหล่งวัตถุดิบของนักเรียนจีน้อยกันค่ะ
http://www.kasetporpeang.com/forums/index.php?topic=66761.msg1504692#msg1504692


าก  ต้นทุนทั้งหมด 504 บาท แบ่งเป็น

ขี้วัว ใช้ทั้งหมด 18 ถุงกระสอบ ( มีบางถุง ๆ ใหญ่กว่าปกตินิดหน่อย )
ขี้ไก่ ใช้ทั้งหมด 12 ถุงกระสอบ
ฟาง ใชั้ทั้งหมด 1.1/4 ก้อน ค่ะ ( หนักใช้หญ้า+วัชช
พืช )
           



อาจารย์ครับ....นักเรียน ดญ.จีน้อย... ไม่ให้ค่าแรงคุณพ่อครับ ... ลังเล ลังเล
     
     


           
บันทึกการเข้า
patcha.c
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1100


« ตอบ #1001 เมื่อ: มิถุนายน 09, 2012, 02:12:55 AM »

อิอิ  คุณภารโรง บางทีก็ฮาดีนะคะ

- ปุ๋ยกะละมังค่ะ

วันนี้เอามาพลิกกลับค่ะ เมื่อคืนโดนฝนสาด น้ำเข้าถัง เลยเอาน้ำออก แล้วก็พลิกกลับไปด้วยค่ะ
เหม็นขี้วัวละลายน้ำจริงๆเลยค่ะ (น้ำที่ได้ไปรดต้นไม้ค่ะ) กองก็ยุ่ยดีค่ะ แต่มันแฉะน้ำฝน
เลยเอามาเทใส่กะละมัง ตากให้แห้งน่ะค่ะ

หนูคิดว่า ทำในถัง มันไม่มีรูให้น้ำไหลออก มันแฉะที่ก้นค่ะ ช่วงบนๆก็ดูย่อยดี สมใจค่ะ ซึ่งค่อนข้างขัดใจเล็กน้อย ที่ทำให้มันดูไม่ง่ายสมวิธี
เลยคิดจะเปลี่ยนจากในถังมาใส่ตะกร้าแทน มันมีรูพรุนดีค่ะ  จะได้ไม่ต้องเอาถังหลบฝนค่ะ หรือทำในถังแบบเดิมดีกว่าคะ 


- อาจารย์คะ วันนี้ลองทำปุ๋ยหมักกองใหญ่ค่ะ แต่หนูไม่ถางหญ้าที่พื้นดินค่ะ เอาหญ้า เศษต้นถั่วที่ตัดมาวางทับเลย
ต้นหญ้าที่อยู่บนพื้นมันจะตายไปเองไหมคะ  สังเกตุจากที่เราเคยตัดหญ้า แล้วเอามาสุมทับไว้ ก็เห็นมันเฉาๆตายไปน่ะค่ะ
หนูคิดว่าถ้าสูง1.5 มันคงหนักพอที่จะทำให้มันงอกไม่ได้นะ่ค่ะ

ขนาดที่ทำ 2.4 * 4 มันใหญ่เหมือนกันค่ะ หญ้ายังไม่เต็มแนวระนาบเลย .... ตกใจ

อาจารย์คะ หนูนึกเล่นๆค่ะ (สงสัยแอบงีบ เลยฝันไปไกล)  ถ้าเราคำนวณค่าอากาศ (ค่าอะไรนะคะ Aerodynamics หรือเปล่าคะ หรือ Fluid)ที่ไหลผ่านกอง โดยสมมุติเจาะรู ทุกๆ 20 cm. ที่ระยะฐานต่างๆ ของ ปริมาตรสามเหลี่ยม กว้าง 2.5 ยาว 4 สูง 1.5 แล้วเราก็ปรับขนาดกองเล็กใหญ่ไปตามค่าที่ได้นี้ โดยตั้งสมมุติฐานว่าปุ๋ยจะเสร็จใน 2 เดือนพอๆกัน ..... ไม่มีอะไรค่ะ คิดไปเรื่อย  คิดว่าทำไมกองเล็กกองใหญ่ถึงต้องใช้เวลาไม่เท่ากันด้วยค่ะ แล้วถ้าอยากได้ภายใน 2 เดือนเหมือนกัน จะทำยังงัยน่ะค่ะ
แต่ไม่ได้มีผลกับกองยาว 4 เมตร หรือ 20 เมตร เสร็จพอๆกันใช่ไหมคะ
ก็ถ้ามองเป็นปริมาตรสามเหลี่ยมสมมุติที่ฐานยาว 1 เมตร แสดงว่า ถ้าสั้นกว่า 4เมตร จะได้ช้ากว่า(หรือจะไวกว่า) แต่ถ้ายาวกว่า 4 เมตร จะเสร็จพอๆกัน  ตัวแปรที่ควมคุมไม่ได้ของสั้นกว่า 4 เมตร มีมากกว่า..คือผัดฉ่ามองก้อนปุ๋ยเป็นก้อนๆปริมาตรน่ะค่ะ ไม่ได้มองเป็นกองๆ รวมๆ

-- ยังงัยก็ยังคิดว่า ideal ไม่เหมือน real น่ะค่ะ ....ผัดฉ่า คิดมากไปหรือเปล่าคะ งั้นไปนอนก่อนค่ะ ตีสองแร่ะ

ปล. ถ่ายรูปไว้แล้วค่ะ เดี๋ยวมาแปะส่งการบ้านนะคะ
บันทึกการเข้า

Gnoy
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2078


« ตอบ #1002 เมื่อ: มิถุนายน 09, 2012, 05:32:34 AM »

แอ่น แอน แอ๊นนนนนน........

มาดูแหล่งวัตถุดิบของนักเรียนจีน้อยกันค่ะ
http://www.kasetporpeang.com/forums/index.php?topic=66761.msg1504692#msg1504692


าก  ต้นทุนทั้งหมด 504 บาท แบ่งเป็น

ขี้วัว ใช้ทั้งหมด 18 ถุงกระสอบ ( มีบางถุง ๆ ใหญ่กว่าปกตินิดหน่อย )
ขี้ไก่ ใช้ทั้งหมด 12 ถุงกระสอบ
ฟาง ใชั้ทั้งหมด 1.1/4 ก้อน ค่ะ ( หนักใช้หญ้า+วัชช
พืช )
           



อาจารย์ครับ....นักเรียน ดญ.จีน้อย... ไม่ให้ค่าแรงคุณพ่อครับ ... ลังเล ลังเล
          


ใครบอกว่าเค้าไม่ให้ เค้าให้เป็น จุ๊บซ้าย จุ๊บขวา   จุมพิต จุมพิต จุมพิต ให้ยาใจพ่อต่างหาก  ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ   


Liked By: tera, thepunyapat, yong9
บันทึกการเข้า
Gnoy
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 2078


« ตอบ #1003 เมื่อ: มิถุนายน 09, 2012, 05:38:21 AM »

   สะะ.. โกรธ.อะะะ.ๆๆ โกรธ.หวัด...ดี...ครั๋บ....อาา...จารย์... โกรธ อะะะๆๆๆ...อะะะะ... ร้องไห้
........ส่งงๆๆใบลา......กับใบรับรองแพทย์......คับ....

ฮือๆๆๆๆๆๆๆๆๆ.....ฮือๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ ....... ร้องไห้

ยา....ๆๆ.....ดมมมมม...คาบบบบบ..... ร้องไห้
    ดีนะที่รอบคอบ... เจ๋ง                     อิอิ... แลบลิ้น แลบลิ้น   

สง กะ สัย แอบ อู้ งาน ไป เล่น เกมส์ จน คอม พัง น่ะ ซิ เค้า รู้ ทัน นา จะ บอก ให้  ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ


Liked By: tera, thepunyapat
บันทึกการเข้า
konthain(นพ)
Administrators
****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 9908


ยิ่งให้ไปยิ่งได้มา การให้ที่ยิ่งใหญ่ไม่สิ้นสุดคือให้ปัญญาและมิตรภาพ


« ตอบ #1004 เมื่อ: มิถุนายน 09, 2012, 07:16:24 AM »

   สะะ.. โกรธ.อะะะ.ๆๆ โกรธ.หวัด...ดี...ครั๋บ....อาา...จารย์... โกรธ อะะะๆๆๆ...อะะะะ... ร้องไห้
........ส่งงๆๆใบลา......กับใบรับรองแพทย์......คับ....

ฮือๆๆๆๆๆๆๆๆๆ.....ฮือๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ ....... ร้องไห้

ยา....ๆๆ.....ดมมมมม...คาบบบบบ..... ร้องไห้
    ดีนะที่รอบคอบ... เจ๋ง                     อิอิ... แลบลิ้น แลบลิ้น   


สง กะ สัย แอบ อู้ งาน ไป เล่น เกมส์ จน คอม พัง น่ะ ซิ เค้า รู้ ทัน นา จะ บอก ให้  ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ ยิ้มกว้างๆ






กระทู้ไหลไวมากครับ เมื่อวานผมก็โดดเรียนไปเที่ยวลพบุรีมา ไปซื้อถาดเพาะกล้านาโยน เลยแวะลงไปดูแปลงนาโยน
ที่ใช้ปุ๋ยอินทรีย์กับการไม่เผาฟางกัน ดูที่กอข้าวนะครับ ไม่รู้จะเรียกว่าใหญ่อย่างไรดี  ดูแบบคร่าวๆผมว่านาแปลงนี้
ต้องได้ข้าวมากกว่า 2 ตันต่อไร่แน่นอน ยิงฟันยิ้ม

 ยิ้มเท่ห์
บันทึกการเข้า

สำนึกดีครับ
รับจ้างล้างรถ และแจกจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง

 ยิงฟันยิ้ม
tera
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4191


« ตอบ #1005 เมื่อ: มิถุนายน 09, 2012, 07:21:20 AM »

อิอิ  คุณภารโรง บางทีก็ฮาดีนะคะ

- ปุ๋ยกะละมังค่ะ

วันนี้เอามาพลิกกลับค่ะ เมื่อคืนโดนฝนสาด น้ำเข้าถัง เลยเอาน้ำออก แล้วก็พลิกกลับไปด้วยค่ะ
เหม็นขี้วัวละลายน้ำจริงๆเลยค่ะ (น้ำที่ได้ไปรดต้นไม้ค่ะ) กองก็ยุ่ยดีค่ะ แต่มันแฉะน้ำฝน
เลยเอามาเทใส่กะละมัง ตากให้แห้งน่ะค่ะ

หนูคิดว่า ทำในถัง มันไม่มีรูให้น้ำไหลออก มันแฉะที่ก้นค่ะ ช่วงบนๆก็ดูย่อยดี สมใจค่ะ ซึ่งค่อนข้างขัดใจเล็กน้อย ที่ทำให้มันดูไม่ง่ายสมวิธี
เลยคิดจะเปลี่ยนจากในถังมาใส่ตะกร้าแทน มันมีรูพรุนดีค่ะ  จะได้ไม่ต้องเอาถังหลบฝนค่ะ หรือทำในถังแบบเดิมดีกว่าคะ 


- อาจารย์คะ วันนี้ลองทำปุ๋ยหมักกองใหญ่ค่ะ แต่หนูไม่ถางหญ้าที่พื้นดินค่ะ เอาหญ้า เศษต้นถั่วที่ตัดมาวางทับเลย
ต้นหญ้าที่อยู่บนพื้นมันจะตายไปเองไหมคะ  สังเกตุจากที่เราเคยตัดหญ้า แล้วเอามาสุมทับไว้ ก็เห็นมันเฉาๆตายไปน่ะค่ะ
หนูคิดว่าถ้าสูง1.5 มันคงหนักพอที่จะทำให้มันงอกไม่ได้นะ่ค่ะ

ขนาดที่ทำ 2.4 * 4 มันใหญ่เหมือนกันค่ะ หญ้ายังไม่เต็มแนวระนาบเลย .... ตกใจ

อาจารย์คะ หนูนึกเล่นๆค่ะ (สงสัยแอบงีบ เลยฝันไปไกล)  ถ้าเราคำนวณค่าอากาศ (ค่าอะไรนะคะ Aerodynamics หรือเปล่าคะ หรือ Fluid)ที่ไหลผ่านกอง โดยสมมุติเจาะรู ทุกๆ 20 cm. ที่ระยะฐานต่างๆ ของ ปริมาตรสามเหลี่ยม กว้าง 2.5 ยาว 4 สูง 1.5 แล้วเราก็ปรับขนาดกองเล็กใหญ่ไปตามค่าที่ได้นี้ โดยตั้งสมมุติฐานว่าปุ๋ยจะเสร็จใน 2 เดือนพอๆกัน ..... ไม่มีอะไรค่ะ คิดไปเรื่อย  คิดว่าทำไมกองเล็กกองใหญ่ถึงต้องใช้เวลาไม่เท่ากันด้วยค่ะ แล้วถ้าอยากได้ภายใน 2 เดือนเหมือนกัน จะทำยังงัยน่ะค่ะ
แต่ไม่ได้มีผลกับกองยาว 4 เมตร หรือ 20 เมตร เสร็จพอๆกันใช่ไหมคะ
ก็ถ้ามองเป็นปริมาตรสามเหลี่ยมสมมุติที่ฐานยาว 1 เมตร แสดงว่า ถ้าสั้นกว่า 4เมตร จะได้ช้ากว่า(หรือจะไวกว่า) แต่ถ้ายาวกว่า 4 เมตร จะเสร็จพอๆกัน  ตัวแปรที่ควมคุมไม่ได้ของสั้นกว่า 4 เมตร มีมากกว่า..คือผัดฉ่ามองก้อนปุ๋ยเป็นก้อนๆปริมาตรน่ะค่ะ ไม่ได้มองเป็นกองๆ รวมๆ

-- ยังงัยก็ยังคิดว่า ideal ไม่เหมือน real น่ะค่ะ ....ผัดฉ่า คิดมากไปหรือเปล่าคะ งั้นไปนอนก่อนค่ะ ตีสองแร่ะ

ปล. ถ่ายรูปไว้แล้วค่ะ เดี๋ยวมาแปะส่งการบ้านนะคะ

- ตอบนักเรียนผัดช้า เอ๊ย พัดชา ...ถูกแล้ว .... หรือผัดฉ่าหว่า ? เรื่องหญ้าที่พื้นนี่หยุมหยิมมากไปแล้ว ไปนอนได้

- กองเล็กฐาน 1 เมตร กับฐาน 2.5 เมตร โอกาสเก็บสะสมความร้อนไม่เหมือนกัน กองเล็กอาจจะมีความร้อนต่ำกว่าทำให้มีอากาศไหลเข้ากองได้น้อยกว่า การเป็นปุ๋ยก็มีโอกาสที่จะช้ากว่า

- ผมใช้คำว่า "โอกาส" หรือ "อาจจะ" เพราะมองในแง่ ideal ฮิฮิ

- ลองคิดดูว่า ถ้ากองมีความกว้างฐาน 0.5 เมตร (เล็กเข้าไปอีก) คราวนี้จะสะสมความร้อนไม่ได้เลย การย่อยสลายรับรองได้ว่าต่างจากกองใหญ่มาก ต่อให้มีการเจาะรูที่ฐานยังไงก็ตามมันก็ช่วยบ่ได้ครับ

- ความยาวของกองปุ๋ยไม่เกี่ยวกับกระบวนการย่อยสลายครับ แต่ความสูงเกี่ยวครับ ยิ่งสูงยิ่งดี เคยเห็นกองปุ๋ยกว้าง 2.5 เมตรสูง 0.5 เมตรไหมครับ กองแบบนี้ก็เก็บสะสมความร้อนบ่ได้ครับ
บันทึกการเข้า
tera
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4191


« ตอบ #1006 เมื่อ: มิถุนายน 09, 2012, 07:33:56 AM »


กระทู้ไหลไวมากครับ เมื่อวานผมก็โดดเรียนไปเที่ยวลพบุรีมา ไปซื้อถาดเพาะกล้านาโยน เลยแวะลงไปดูแปลงนาโยน
ที่ใช้ปุ๋ยอินทรีย์กับการไม่เผาฟางกัน ดูที่กอข้าวนะครับ ไม่รู้จะเรียกว่าใหญ่อย่างไรดี  ดูแบบคร่าวๆผมว่านาแปลงนี้
ต้องได้ข้าวมากกว่า 2 ตันต่อไร่แน่นอน ยิงฟันยิ้ม

 ยิ้มเท่ห์

- ผจก.คุณนพได้เอาหนังสือ 8 เซียนที่ กพพ.จัดพิมพ์ไปฝากเขาด้วยไหมครับ แฮ่ม เผื่อจะได้เห็นกองปุ๋ยยาวสัก 20 เมตรแถวนั้น

- ดูคันนาของเขานี่ เขาใช้สายสะพายตัด ไม่ได้ใช้ยาฆ่าหญ้า แถมในนามีแหนแดงอีก ได้สอบถามเรื่องต้นทุนต่อไร่ไหมครับ หนี้ ธกส.เขาหมดแล้วหรือยัง รายได้เป็นยังไง เห็นมีคนนินทาว่าใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาแล้วรถแทรคเตอร์เข้าไม่ได้ แล้วของที่นี่ใช้อะไรครับ หรือใช้รถไถเดินตาม

- ใบข้าวก็เขียวดีนะครับ

- ต้องฝาก ผจก.คุณนพ ประชาสัมพันธ์มาก ๆ เรื่องไม่เผาฟาง เรื่องใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาเพื่อบำรุงดิน เรื่องรายได้กับหนี้ เพราะถ้าเกี่ยวกับเรื่องรายได้เรื่องหนี้ อาจทำให้เกษตรกรหรือสมาชิก กพพ.หันมาสนใจไม่เผาฟางได้
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 09, 2012, 07:35:59 AM โดย tera » บันทึกการเข้า
ดวงพร
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 4714


คนเราเลือกเกิดไม่ได้แต่เลือกทำชีวิตให้ดีได้


« ตอบ #1007 เมื่อ: มิถุนายน 09, 2012, 07:46:36 AM »

เสียดายๆๆๆๆๆๆหนัง เกษตร 8เซียน ของเวป กพพ.ยังอยู่ในระหว่างจัดเตรียมและดำเนินการในรายละเอียด.ก่อนจะส่งรายละเอียดเชิญเซียนในเวปทั้ง8มาเผยแพร่ความรู้...ไม่งั้นจะฝาก คุณ นพ เอาหนังสือ เกษตร 8 เซียนไปแจก......เซียนคนแรก...คือ อ.tera นี่เลยค่ะ ยิงฟันยิ้ม


สวัสดีค่ะอาจารย์ตอนเช้าๆขยันจังค่ะ มา รร.กพพ.แต่เช้า......แต่ช้ากว่าครูใหญ่ไปนิดเพราะมาก่อน ค่ะ ยิงฟันยิ้ม ยิงฟันยิ้ม ยิงฟันยิ้ม

-อาจารย์มาเตรียมการเรียนการสอนใช่ใหมคะ
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 ... 53 54 55 56 57 58 59 60 61 62 [63] 64 65 66 67 68 69 70 71 72 73 ... 433   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป: