หน้า: 1 ... 567 568 569 570 571 572 573 574 575 576 [577] 578 579 580 581 582 583 584 585 586 587 ... 595   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: มือใหม่ลองเพาะ อินทผลัม  (อ่าน 4168089 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
nhong srisaket
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 113


« ตอบ #9216 เมื่อ: ตุลาคม 11, 2014, 05:38:23 PM »

มาอับเดทเตตัสกันดีกว่า ผ่านไป1เดือนกว่าๆ กลับบ้านไปถอนฟัน เลยเอาเวลาพักเข้าสวน ไปตัดหญ้าทำโคนต้น
แต่ว่ายังไม่หมด ยิงฟันยิ้ม ยิงฟันยิ้ม ;Dมีเวลาน้อย เลยแอบถ่ายรูปน้องเค๊ามาฝากกัน

http://i1287.photobucket.com/albums/a634/nhongsrisaket/tuptimthongfarm/IMG_2963_zpsd14a27b4.jpg





บันทึกการเข้า

jay
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 730


อินทผลัมปลอดสารเคมี


« ตอบ #9217 เมื่อ: ตุลาคม 12, 2014, 10:25:18 AM »

ผมแปลกใจมากที่คนหันมาสนใจปลูกอินทผลัมกันเป็นล่ำเป็นสัน นำเข้าทั้งเมล็ด ทั้งเนื้อเยื่อทั้งหน่อ การปลูกอินทผลัมที่มีคุณภาพทำได้ไม่ง่ายเลยในบ้านเราเหตุด้วยหลายปัจจัย และยังถือว่าเป็นพืชที่
ใหม่มากสำหรับคนไทย ไม่ว่าจะเป็นการเพาะปลูกหรือการบริโภค จะเรียกว่าบ้านเรายังอยู่ในขั้นตอนการทดลองปลูกก็ไม่ผิด เพราะเท่าที่สังเกตุ ตลาด ณ ปัจจุบันแค่มีบางสวนเท่านั้นที่ออกมาสู่ตลาดในราคาที่แพงกว่าทุเรียน ถ้าถามความเห็นส่วนตัว ถ้าจะต้องควักตังค์จ่ายกับผลไม้ที่ไม่คุ้นเคยในราคานี้ก็คงจะเป็นเพียงแค่การทดลองชิมเท่านั้น รสชาติยังไม่ค่อยถูกปากคนไทยอาจเป็นเพราะยังไม่คุ้นเคย ในส่วนของการบริโภค ภายในประเทศอาจจำกัดอยู่แค่ในวงไม่กว้างมาก ลองนึกถึงผลไม้ไทยอย่างอื่นที่ถูกใจถูกปากคนไทยและราคาไม่แพงอย่างเงาะ ลองกอง ยังขายลำบากเลย ส่วนการจะเป็นสินค้าส่งออกส่วนตัวคิดว่าคงต้องใช้เวลาเหมือนกัน ในด้านรสชาติที่หวานจัดในผลแห้ง ปนฝาดในผลแก่จัด อาจยังไม่ถูกปากคนไทยและคงไม่มีใครมานั่งทานอินทผลัมเป็นกิโลๆเหมือนทานเงาะทานทุเรียน ยิ่งผลแห้งทานไม่กี่ลูกก็รู้สึกอิ่มแล้วลูกแก่ติดฝาดเด็กบางคนไม่แตะเลย ถ้าจะให้คุณภาพผลผลิตที่ดีแข่งขันกับต่างชาติได้คงต้องลงทุนสูงเอาการ
บันทึกการเข้า
nhong srisaket
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 113


« ตอบ #9218 เมื่อ: ตุลาคม 12, 2014, 01:45:17 PM »

ผมแปลกใจมากที่คนหันมาสนใจปลูกอินทผลัมกันเป็นล่ำเป็นสัน นำเข้าทั้งเมล็ด ทั้งเนื้อเยื่อทั้งหน่อ การปลูกอินทผลัมที่มีคุณภาพทำได้ไม่ง่ายเลยในบ้านเราเหตุด้วยหลายปัจจัย และยังถือว่าเป็นพืชที่
ใหม่มากสำหรับคนไทย ไม่ว่าจะเป็นการเพาะปลูกหรือการบริโภค จะเรียกว่าบ้านเรายังอยู่ในขั้นตอนการทดลองปลูกก็ไม่ผิด เพราะเท่าที่สังเกตุ ตลาด ณ ปัจจุบันแค่มีบางสวนเท่านั้นที่ออกมาสู่ตลาดในราคาที่แพงกว่าทุเรียน ถ้าถามความเห็นส่วนตัว ถ้าจะต้องควักตังค์จ่ายกับผลไม้ที่ไม่คุ้นเคยในราคานี้ก็คงจะเป็นเพียงแค่การทดลองชิมเท่านั้น รสชาติยังไม่ค่อยถูกปากคนไทยอาจเป็นเพราะยังไม่คุ้นเคย ในส่วนของการบริโภค ภายในประเทศอาจจำกัดอยู่แค่ในวงไม่กว้างมาก ลองนึกถึงผลไม้ไทยอย่างอื่นที่ถูกใจถูกปากคนไทยและราคาไม่แพงอย่างเงาะ ลองกอง ยังขายลำบากเลย ส่วนการจะเป็นสินค้าส่งออกส่วนตัวคิดว่าคงต้องใช้เวลาเหมือนกัน ในด้านรสชาติที่หวานจัดในผลแห้ง ปนฝาดในผลแก่จัด อาจยังไม่ถูกปากคนไทยและคงไม่มีใครมานั่งทานอินทผลัมเป็นกิโลๆเหมือนทานเงาะทานทุเรียน ยิ่งผลแห้งทานไม่กี่ลูกก็รู้สึกอิ่มแล้วลูกแก่ติดฝาดเด็กบางคนไม่แตะเลย ถ้าจะให้คุณภาพผลผลิตที่ดีแข่งขันกับต่างชาติได้คงต้องลงทุนสูงเอาการ
อาจต้องผสมผสานเวลากับประสปการณ์ในการดูแลรวมทั้งผลิตผลของเค๊าออกมา เทคนิคการผลิตทั้งผลแห้งและสดเรายังเรียกว่าเป็นเด้กน้อยอยู่เลย
แต่การพัฒนาของคนไทยในด้านการเกษตรไม่แพ้ใครๆในโลกนี้แน่ ผมมั่นใจ ส่วนการบริโภคก้อต้องอาศัยเวลาเช่นกันคุณสมบัติที่ดีในอินทะผลัมจะเป็นเครื่องหมายการค้า โดยเฉพาะการเป็นผลไม้ของผู้ที่มีปัญหาเรื่องน้ำตาล ส่วนราคาบั้นปลายอีกสัก10ปีถ้าผลสดอยู่ในราคาประมาณ กก.ละ100บาทหรือผลแห้งสัก200ผมก้อว่าหรูมากแล้วนะ ส่วนตัวผมขอแค่ได้เพศหญิงสัก50ต้นผมก้อดีใจแล้วครับ ยิ้ม ยิ้ม ยิ้ม
บันทึกการเข้า
YUMMYDEN
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 272


« ตอบ #9219 เมื่อ: ตุลาคม 12, 2014, 01:53:34 PM »

อ้างถึง
อาจต้องผสมผสานเวลากับประสปการณ์ในการดูแลรวมทั้งผลิตผลของเค๊าออกมา เทคนิคการผลิตทั้งผลแห้งและสดเรายังเรียกว่าเป็นเด้กน้อยอยู่เลย
แต่การพัฒนาของคนไทยในด้านการเกษตรไม่แพ้ใครๆในโลกนี้แน่ ผมมั่นใจ ส่วนการบริโภคก้อต้องอาศัยเวลาเช่นกันคุณสมบัติที่ดีในอินทะผลัมจะเป็นเครื่องหมายการค้า โดยเฉพาะการเป็นผลไม้ของผู้ที่มีปัญหาเรื่องน้ำตาล ส่วนราคาบั้นปลายอีกสัก10ปีถ้าผลสดอยู่ในราคาประมาณ กก.ละ100บาทหรือผลแห้งสัก200ผมก้อว่าหรูมากแล้วนะ ส่วนตัวผมขอแค่ได้เพศหญิงสัก50ต้นผมก้อดีใจแล้วครับ ยิ้ม ยิ้ม ยิ้ม


ลองดูคลิปนี้น่ะครับ...
]Date palm Ampel Surabaya อินทผาลัมถูกมากๆ

จากคลิบเราจะเห็นได้ว่าอินทผาลัมในอินโดไม่ได้แพงอย่างที่คิดน่ะครับ
 และที่สำคัญนั่นคือราคาขายปลีกน่ะครับ ลองคิดดูซิว่า แล้วราคาหน้าสวนล่ะจะเป็นอย่างไรบ้างครับ  ....
ยิ่งช่วงอินทผาลัมออกผลผลิตจะเป็นหน้าฤดูที่ผลไม้ไทยชุกมากฉนั้นอาจจะต้องมีการแปรรูปครับ...
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ตุลาคม 12, 2014, 02:04:57 PM โดย YUMMYDEN » บันทึกการเข้า
Seksun_56
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 654


« ตอบ #9220 เมื่อ: ตุลาคม 13, 2014, 03:22:39 PM »

วันนี้มีพี่ที่ เชียงใหม่โทรมาถามเรื่องคุ้มหรือที่จะปลูกอินทผาลัมเชิงพาณิชย์?...


ในความคิดเห็นส่วนตัว
ขอตอบดังนี้ว่า


ณ.ปัจจุบัน ถ้าคิดจะปลูกเล็กๆเชิงพาณิชย์หลักสิบต้น คิดว่าไม่คุ้มแล้ว เพราะอย่างที่บอกอินทผาลัมในไทย
อีกไม่กี่ปีคงเหลือกิโลล่ะ 50 บาท เพราะสวนผมก็ตั้งเป้าแค่นั้น ขอให้ขายหมดเถอะ...แต่ถ้าคิดว่าคุ้มลุยเลย...



ผมคิดว่าได้ กิโลล่ะ 50 บาท ก็ยังคุ้ม ถ้าเทียบกับมังคุดปีนี้
บันทึกการเข้า
ชนะชัย ชนะจน
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 251


เกิดดับ เกิดดับ สัพสิ่ง ทั้งหลาย สายน้ำไม่คอยท่า กาลเวลาไม่เคยคอยใคร


« ตอบ #9221 เมื่อ: ตุลาคม 15, 2014, 08:56:55 AM »

ถ้าชมรมมีพันธุ์อินทผลัมทานผลสด เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเป็นพันธุ์มาตรฐาน เป็นของชมรมคงจะดีครับราคาต้นละ 300-400 บาท สมาชิกจะได้มีต้นพันธุ์อินทผลัมมาตรฐานเดียวกัน รสชาติและคุณภาพอินทผลัมจะได้เหมือนกัน  หรือใกล้เคืองกัน ถ้าคิดจะทำตลาดในนาม ชมรม
บันทึกการเข้า

จงยิ้ม เมื่อถูกเยาะ
จงหัวเราะ เมื่อถูกเย้ย
จงเฉย เมื่อถูกชม
จงข่มอารมณ์ เมื่อไม่พอใจ
nhong srisaket
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 113


« ตอบ #9222 เมื่อ: ตุลาคม 15, 2014, 10:45:14 AM »

ถ้าชมรมมีพันธุ์อินทผลัมทานผลสด เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเป็นพันธุ์มาตรฐาน เป็นของชมรมคงจะดีครับราคาต้นละ 300-400 บาท สมาชิกจะได้มีต้นพันธุ์อินทผลัมมาตรฐานเดียวกัน รสชาติและคุณภาพอินทผลัมจะได้เหมือนกัน  หรือใกล้เคืองกัน ถ้าคิดจะทำตลาดในนาม ชมรม
เนื้อเยื่อราคานี้จะไหวหรือครับ มันจะหาได้ยากนะครับ แถมต่อให้เป็นเนื้อเยื่อรสชาดมันก้อขึ้นอยู่กับดินน้ำด้วยนะครับ
บันทึกการเข้า
Seksun_56
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 654


« ตอบ #9223 เมื่อ: ตุลาคม 15, 2014, 10:59:01 AM »

ถ้าชมรมมีพันธุ์อินทผลัมทานผลสด เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเป็นพันธุ์มาตรฐาน เป็นของชมรมคงจะดีครับราคาต้นละ 300-400 บาท สมาชิกจะได้มีต้นพันธุ์อินทผลัมมาตรฐานเดียวกัน รสชาติและคุณภาพอินทผลัมจะได้เหมือนกัน  หรือใกล้เคืองกัน ถ้าคิดจะทำตลาดในนาม ชมรม
เนื้อเยื่อราคานี้จะไหวหรือครับ มันจะหาได้ยากนะครับ แถมต่อให้เป็นเนื้อเยื่อรสชาดมันก้อขึ้นอยู่กับดินน้ำด้วยนะครับ

ต้นเนื้อเยื่อใช้เวลาเลี้ยงในแลป 2 ปี ต้นจึงจะพร้อมนำออกจำหน่าย การลงทุนก็สูง ใครจะทำมาขายในราคานี้คงคิดหนัก
บันทึกการเข้า
ชนะชัย ชนะจน
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 251


เกิดดับ เกิดดับ สัพสิ่ง ทั้งหลาย สายน้ำไม่คอยท่า กาลเวลาไม่เคยคอยใคร


« ตอบ #9224 เมื่อ: ตุลาคม 15, 2014, 08:25:56 PM »

ต้นพันธุ์อินทผลัมทานสดก็คัดเลือกจากต้นอินทผลัมของ สมาชิกหรือจะจัดงานประกวดผลผลิตก็ได้ เลือกต้นที่ได้อันดับหนึ่ง มากเพาะเนื้อเยื่อ เป็นพันธุ์อินทผลัมเพาะเนื้อเยื่อ เมดอินไทยแลนด์ เรื่องราคาต้นพันธุ์ก็เอาไว้สรุปกันที่หลัง มันก็ต้องมีคณะกรรมการบริหาร ชมรม ผมว่าประเทศไทยอนาคต ต้องมี อินทผลัมเพาะเนื้อเยื่อ เมดอินไทยแลนด์ ลงโฆษณาขาย เหมือนกับอินทผลัมเพาะเมล็ดแน่ๆครับ


Liked By: tean, seri, MANA1908, Donhun
บันทึกการเข้า

จงยิ้ม เมื่อถูกเยาะ
จงหัวเราะ เมื่อถูกเย้ย
จงเฉย เมื่อถูกชม
จงข่มอารมณ์ เมื่อไม่พอใจ
LOMSAK
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 41


« ตอบ #9225 เมื่อ: ตุลาคม 15, 2014, 08:40:39 PM »

ขอบคุณครับ ข้อมูลดีมากมีประโยชน์มาก
ผมเริ่มสนใจ อินทผลัม เพราะพ่อดูทีวี เห็นเขาโฆษณาขายต้นกล้า และรายได้ พ่อผมเลยสั่งซื้อต้นกล้า 73 ต้นผมจึงได้หาข้อมูลเรื่องอินทผลัมในอินเตอร์เน็ต ดีนะต้นกล้าอินทผลัมที่พ่อสั่งซื้อไปเขาไม่เอามาส่ง ไม่อย่างงั้นเสียเงินหมื่นกว่าบาทแน่ๆตอนที่ผมหาข้อมูลเรื่องอินทผลัมเเรกๆ ผมก็มีความสนใจจะปลูกอินทผลัมมากๆ ผมซื้อผลอบแห้งมากิน กล่องละ 150 บาท พันธุ์ Deglete Nour เอาเมล็ดไปเพราะ งอกดีครับได้ความรู้จากหลายเว็บ เพาะไปด้วย หาข้อมูลไปด้วย ผมได้บทสรุปเรื่องอินทผลัมให้กับตัวเอง นานสามสี่เดือนแล้วครับ สรุปว่าพักโครงการปลูกอินทผลัมไว้ก่อน ครับต้นที่เพาะและลงถุงดำเอาไว้ผมก็ถอนทิ้งหมดเมื่อต้นเดือน ส.ค ยากได้ต้นพันธุ์อินทผลัมเพาะเนื้อเยื่อ มาปลูกสัก 30-40 ต้นราคาก็แรงไป คิดว่าปลูกเอาไว้ถ้าขายไม่ได้ก็จะเอาไว้กินเองหรือขายถูกๆ กิโลกรัมละ 60-70 บาท คงต้องรอให้ราคาต้นพันธุ์เพาะเนื้อเยื่อลงมาก่อน ตอนนี้ก็ติดตามข่าวและทำอย่างอื่นไปก่อน ขอบคุณทุกๆข้อมูลที่แบ่งปันครับ
คิดถึงตะกูยักษ์สมัยอดีต
ดาวอินคา สมัยปัจจุบัน
บันทึกการเข้า
thongeka
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1592


« ตอบ #9226 เมื่อ: ตุลาคม 15, 2014, 09:02:58 PM »




ที่จังหวัดขอนแก่นมีคนที่เริ่มวางแผนรองรับผลผลิตอินทผาลัมสำหรับอีก 2-3 ปีข้างหน้าแล้วครับตอนนี้เขากำลังคิดวางแผนทำไวน์และแยมอินทผาลัม คนไทยเป็นจ้าวแห่งการถนอมอาหารและแปรรูปอยู่แล้วครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ตุลาคม 15, 2014, 09:15:19 PM โดย thongeka » บันทึกการเข้า
rongs955
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 227


« ตอบ #9227 เมื่อ: ตุลาคม 16, 2014, 05:12:35 AM »

                 มือใหม่อย่างผมก็ขอเพาะคุณอินฯ ไปอีกเรื่อยๆ ไม่เร่ง ไม่ร้อน อยู่กับปัจจุบัน วันนี้ ทำให้ดีที่สุด
            บังเอิญที่ความอยากได้พันธ์หลายๆแหล่ง  จากอาโหร่นบ้าง... แกะเนื้อเอาเมล็ดออก ใส่่่่่กล่องเข้าตู้เย็น
        แขกไปใครมา พอได้ชิมเกือบปีมาแล้ว ยังเหลือ  รสชาด สภาพดูดี (ผลไม้บ้านเรา ลองคิดหาแบบนี้  ไม่เจอเลย)
                 ช่วงนี้คงต้องห่างสวนไปทำมาหาเงินสัก2เดือน  ฝนหายหญ้าคลุมดินแห้ง....
                        แต่พอใจแล้วที่หลายต้น  เติบโต งอกงาม ...เกินคาด คะรับ
บันทึกการเข้า
tean
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 129


« ตอบ #9228 เมื่อ: ตุลาคม 16, 2014, 09:38:05 AM »




ไม่ได้ส่งรายงานสมาชิกทุกท่านนานแล้ว ขอส่งภาพให้ชมครับ อินทผาลัมปราณบุรี ประจวบ อายุสองปีแล้วครับ ขนาดต้นเล็กบ้างใหญ่บ้าง เพราะขาดการบำรุง ที่นี่ยังกันดารน้ำ แต่อีกไม่นานจะจัดเตรียมระบบน้ำให้ดีมากขึ้น ส่วนการเพาะเมล็ดผมยังคงทดลองเพาะไปเรื่อยๆ แจกกันเป็นส่วนใหญ่ มีบางท่านมาขอแบ่งซื้อก็ขายไป  ทำแบบค่อยๆเป็นค่อยๆไป  ยิ้ม



บันทึกการเข้า
nhong srisaket
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 113


« ตอบ #9229 เมื่อ: ตุลาคม 16, 2014, 10:38:34 AM »




ไม่ได้ส่งรายงานสมาชิกทุกท่านนานแล้ว ขอส่งภาพให้ชมครับ อินทผาลัมปราณบุรี ประจวบ อายุสองปีแล้วครับ ขนาดต้นเล็กบ้างใหญ่บ้าง เพราะขาดการบำรุง ที่นี่ยังกันดารน้ำ แต่อีกไม่นานจะจัดเตรียมระบบน้ำให้ดีมากขึ้น ส่วนการเพาะเมล็ดผมยังคงทดลองเพาะไปเรื่อยๆ แจกกันเป็นส่วนใหญ่ มีบางท่านมาขอแบ่งซื้อก็ขายไป  ทำแบบค่อยๆเป็นค่อยๆไป  ยิ้ม





 โกรธ โกรธ >:(ถ้าท่านกันดารผมคงไม่ต้องพูดแล้วมังครับ ตกใจ ตกใจ
ต้นกร้าสวยจัง พันธุ์ไร เอามาจากไหนครับ ลงไปเยอะยัง
บันทึกการเข้า
banraiploysuphan
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 80


« ตอบ #9230 เมื่อ: ตุลาคม 17, 2014, 08:34:56 AM »

ตัวอย่างที่ผมปลูกเองครับ เพาะจากเมล็ดได้ 1 ปีแล้วนำลงดิน ไม่มีเวลาดูแลเรื่องน้ำ ปุ๋ยให้ขี้เค๊กกับเคมีผสมกัน รอดมาได้ขนาดนี้ดีใจมากครับ
บันทึกการเข้า
tean
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 129


« ตอบ #9231 เมื่อ: ตุลาคม 17, 2014, 02:42:17 PM »




ไม่ได้ส่งรายงานสมาชิกทุกท่านนานแล้ว ขอส่งภาพให้ชมครับ อินทผาลัมปราณบุรี ประจวบ อายุสองปีแล้วครับ ขนาดต้นเล็กบ้างใหญ่บ้าง เพราะขาดการบำรุง ที่นี่ยังกันดารน้ำ แต่อีกไม่นานจะจัดเตรียมระบบน้ำให้ดีมากขึ้น ส่วนการเพาะเมล็ดผมยังคงทดลองเพาะไปเรื่อยๆ แจกกันเป็นส่วนใหญ่ มีบางท่านมาขอแบ่งซื้อก็ขายไป  ทำแบบค่อยๆเป็นค่อยๆไป  ยิ้ม





 โกรธ โกรธ >:(ถ้าท่านกันดารผมคงไม่ต้องพูดแล้วมังครับ ตกใจ ตกใจ
ต้นกร้าสวยจัง พันธุ์ไร เอามาจากไหนครับ ลงไปเยอะยัง
 55 ถึงแม้ว่าใกล้ทะเล มีเขื่อนปราณบุรี มีบึงทุ่งเลี้ยงสัตว์ (น้ำยังไม่พอ)แต่ที่นี่แดดแรงสุดๆครับ น้ำในดินระเหยไวมาก หน้าแล้งมีมากกว้าหน้าฝน ที่นี่ส่วนมากปลูกสัปปะรด เพราะต้องการน้ำน้อย พื้นที่ๆผมปลูก น้ำเปรี้ยว น้ำบาดาลเค็ม  วางแผนจะเจาะบ่อบาดาล ก็ยังหวั่นว่าจะเสียงบเมื่อต้องเจอน้ำเค็ม น้ำสนิม แต่ตะลองให่ช่างไปสำรวจดูก่อน..
พันธุ์ที่มี เดคเลทนัวร์ คาลาส อัจวาห์ มาบรูม บาฮี kl1มาซาฟาตี มารีย์ เมดจูล ซูคารี แอมเบอร์ เอศรา โคไนซี่ ...ประมาณนี้ครับ อ้อ และมีอินทผาลัมบรูไนด้วยครับ เพาะเมล็ดล้วนๆ เมล็ดพันธุ์ซ้อจากสมาชิกเเพจนี้ 2 เจ้า ซื้อจากอาโรน ด้วย และซื้อผลสดจากพารากอน ผลสดราชบุรี ผลแห้งท็อป โฮมเฟรชมาร์ท..ห้างสรรพสินค้าฯล..พันที่ผมกำลังสนใจเป็นพิเศษคือพันธุ์ kl1 (กำลังขยายพันธุ์ลงแปลงปลูกที่ชัยภูมิ) ถัดมาคือบาฮี อัจวาห์ พันธุ์อื่นๆ ก็ลองอย่างละนิดละหน่อย  ...พันธุ์ที่ลงไปแล้ว ที่ปราณบุรี มีเดคเลทนัวร์ ลงไป 50 (รอดตาย 20) คาลาส 6  รอดทุกต้น มาซาฟาตี 1 หลุมที่ตายแล้วจะรอระบบน้ำก่อน  ส่วนต้นกล้าที่มีอยู่กำลังบำรุงให้แข็งแรง ต้นโตพอที่จะเผชิญกับดินฟ้าอากาศ ..ที่ชัยภูมิ พี่ชายของผมจะไปเริ่มทำ แม่เพาะต้นกล้าไว้เยอะ ล่าสุดkl1 400 Degletnour 600 barhi 100  ยังต้นเล็กๆครับ แต่ต้นที่ลงไปก่อนหน้านั้น(พร้อมๆกับที่ปราณ) คือเดคเลทนัวร์ มาบบรูม  ที่ลงล้าสุด เป็นบาฮี และ kl1 ครับ...ชาวบ้านทราบข่าว พากันมาขอซ้อต้นกล้า แม่ก็แบ่งๆขาย แจกฟรีบ้าง ..
ผมทราบจากสวนเอ๊าะเจ๊าะ แอ๊ะแจ๊ ว่าซื้ออินทผาลัมแห้งตูนีเซียมาทาน ปลูกแล้ว ออกลูก จึงลองดูครับ ต้นเนื้อเยื่อเเพงเอาการ ... เพาะเมล็ด คัดต้นกล้า คือการท้าความอดทน..ผมจะขยายพันธุ์วิธีโราณ เพาะเมล็ด ..แยกหน่อ ...ส่วนเรื่องราคาผลผลิตยังไม่คิดครับ ถ้าได้ 80 บาท ต่อกก.ก็ถือว่าดี แต่กว่าที่จะราคาตก ก็คงอีกหลายปีอยู่ .. เห็นในบางเวบ แถวตะวันออกกลาง ชาวสวนอินทผาลัม ก็นั่งคอตกเหมือนกัน เพราะเขามีโรงงานรับซื้อผลผลิต สงสัยได้ราคาไม่ดี ขายไปก็ไม่เท้าทุน หรือได้กำไรน้อย  ...ครับ ที่ชัยภูมิ พ่อมีสวนยาง นาข้าว  มันสำปะหลัง  และมีพืชผักหมุนเวียน  ล่าสุดก็มีอินทผาลัมนี่ล่ะครับ  ที่หมู่บ้านใกล้เคียง kl1 มีผลผลิตแล้ว ขายกันโลละ 400 คนที่มีเงินหน่อยก็หาซื้อมาทานได้ แต่ชาวนา ชาวไร่ที่นู่นเป็นหนี้กันเยอะ เห็นราคา 400 ก็ไม่ค่อยกล้าซื้อกัน   ...จะมีก็แต่ ครูน้อย ครูใหญ่ ที่มีเงิน หรืออบต. ที่กำลังทำแปลงปลูก .....เอาไว้เพียงเท่านี้ก่อนครับ
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 ... 567 568 569 570 571 572 573 574 575 576 [577] 578 579 580 581 582 583 584 585 586 587 ... 595   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป: