ขอนุญาติตัดบางส่วนมาประกอบข้อมูล เผื่อท่านอื่น มาอ่านในหน้านี้ จะได้ทำความเข้าใจได้ง่ายขึ้น อันนี้เป็นข้อมูลจากอีกเวบ ที่ผมเป็นสมาชิก เห็นว่าเป็นประโยชน์เลยคัดลอกมาให้ได้อ่าน
ลองอ่านกระทู้นี้สักหน่อยนะครับ อาจจะทำให้เข้าใจหลักการออกแบบเจนเนอร์เรเตอร์หรือไดนาโมของกังหันมากยิ่งขึ้นครับ ว่าการหารอบที่จะทำให้กังหันเริ่มชาร์จที่เท่าใด และจะต้องพันขดลวดกี่รอบต่อขด จำนวนกี่รอบ พอเป็นแนวทางให้บ้างนะครับ
ขออภัยด้วยนะครับ ถ้าเอามะพร้าวห้าวมาขายสวนนะครับ เพราะดูจากคำตอบที่คุณตอบๆ มาในกระทู้อื่นๆ น่าจะเป็นผู้รู้ท่านหนึ่งเลยนะครับhttp://www.are101.org/forum/index.php?topic=345.0แทนค่า Vbatt = 14 Volte. ใน (Cool)
167 = (14+1.4) x 60 /1.732 x 1.56 x 2 xn x0.0154 x 0.45
หาจำนวนขด ที่ 167รอบหมุน ชาร์จแบตฯ 1ลูก = (15.4) x 60 /1.732 x 1.56 x 2 x167 x0.0154 x 0.45
n = 924/6.25
n = 147.84 รอบ/phase
อยากทำ 9 ขด 3 เฟส : = 147 / 3 = 49 รอบ /ขด
อยากทำ 10 ขด 5 เฟส : = 147 / 2 = 73.5 รอบ /ขด
การพันขดลวดอาจจะพันเผื่อไปสักประมาณ 10 % ก็ได้เพราะว่าการทำงานด้วยมีอาจจะต้องเผื่อบ้างเล็กน้อย
ของลุงเค้าทำ 10 ขด 5 เฟส : = 147 / 2
= 73.5 รอบ /ขด
เลือกใช้ = 80 turn.
ค่าของ B เป็นความเข้มสนามแม่เหล็ก(เทสล่า)ที่โรงงานผู้ผลิตบอกมา นีโอไดเมี่ยม ที่มีขายในบ้านเราจะเป็น Grade 35 ,Grade 45
คือ จะมีค่าเป็น Guass เช่น Grade 45 = 4500 Guass. , Grade 35 = 3500 Guass
1 Tesla = 10,000 Guass.
Grade 45 = 4500 Guass. = 0.45 T……………………………………(B)
วิธีคิด เพื่อหา พ.ท.หน้าตัดของสนามแม่เหล็กคิดตามนี้ = 2” x 1” x 12 pole
= 24ตารางนิ้ว
1 ตารางเมตร = 100 cm* 100 cm = 10,000 ตารางเช็นติเมตร
1 ตารางนิ้ว = 2.54 cm *2.54 cm = 6.24 ตารางเช็นติเมตร
1 ตารางนิ้ว = 6.24 x 10^-4 ตารางเมตร
ที่ 24ตารางนิ้ว = ?ตารางเมตร หาได้จาก = 24 ตารางนิ้ว x 6.45 x1^-4
= 0.0154 ตารางเมตร……………………….(A)
วิธีคิด เพื่อหาขนาดของเส้นลวดทองแดงที่จะนำเอามาพัน
กำลังที่ต้องการ P = VI
100 watts. = 12 x I
I = 100/12
= 8.33 Amp.
เลือกขนาดลวดที่ตาราง AWG ได้ทุกขนาดครับ ขึ้นอยู่กับว่าเราจะใช้อันไหน เช่น เบอร์เล็กกระแสไม่พอก็พันคู่หรือ มากกว่าก็ได้ครับครับ
แต่ที่ยอดฮิตนี่ #21 AWG,#18AWG,#14AWG ใหญ่กว่านี้พันยาก
ผมขอขอบคุณมาก สำหรับคำแนะนำ ช่วยได้มากทีเดียว
ส่วนนี่ "
จากคำตอบที่คุณตอบๆ มาในกระทู้อื่นๆ น่าจะเป็นผู้รู้ท่านหนึ่งเลยนะครับ จากคำตอบที่ตอบๆ มาในกระทู้อื่นๆ" นั้นเป็นการแอบเรียนหลังห้อง จากข้อมูลต่างๆ ที่ท่านเอง และผู้รู้ท่านอื่นๆ ได้เขียนบันทึกไว้นั่นแหละ (ส่วนตัวผมพอมีพื้นฐานไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์อยู่บ้างครับ) ขอบคุณสำหรับคำแนะนำครับ
"เลือกขนาดลวดที่ตาราง AWG ได้ทุกขนาดครับ ขึ้นอยู่กับว่าเราจะใช้อันไหน เช่น เบอร์เล็กกระแสไม่พอก็พันคู่หรือ มากกว่าก็ได้ครับครับ"
แต่ที่ยอดฮิตนี่ #21 AWG,#18AWG,#14AWG ใหญ่กว่านี้พันยาก
(ความเห็นส่วนตัว ผมขอแนะนำลวดเบอร์ 16AWG แบบเครือบ 2ชั้น เวลาพันนิ่มมือ ไม่กระด้างเหมือนเบอร์18)
ความเข้มสนามแม่เหล็ก(เทสล่า)ที่โรงงานผู้ผลิตบอกมา นีโอไดเมี่ยม ที่มีขายในบ้านเราจะเป็น Grade35,Grade45 ผมเลือกที่จะกำหนดค่าเป็น 0.4
ส่วนตัวอย่างวิธีติดด้านล่างนี้ ผมลองคำนวน ตามตัวอย่าง ใน
http://www.are101.org/forum/index.php?topic=345.0 มาให้ดู หากส่วนใหน ผิดพลาด ช่วยแนะนำด้วย ขอบคุณมาก
หาจำนวนขด ให้ชาร์จแบตฯ12โวลต์ได้ที่รอบหมุน 120รอบ= (15.4) x 60 /1.732 x 1.56 x 2 x 0.0154 x 0.4 x 120
n = 924/3.994512
= 231.317
ถ้า 3 เฟสเลือกใช้ ที่ = 77.10566 turn.พันด้วยมือ เผื่อเป็น 80รอบ
ถ้า 2 เฟสเลือกใช้ ที่ = 115.65 turn.พันด้วยมือ เผื่อเป็น 117รอบ
หาจำนวนขด ให้ชาร์จแบตฯ24โวลต์ได้ที่รอบหมุน 120รอบ= (30.8)x60/1.732 x 1.56 x 2 x 0.0154 x 0.4 x 120
n = 1848/3.994512
= 462.63
ถ้า 3 เฟสเลือกใช้ ที่ = 154.21 turn. พันด้วยมือ เผื่อเป็น 156รอบ
ถ้า 2 เฟสเลือกใช้ ที่ = 231.31 turn. พันด้วยมือ เผื่อเป็น 235รอบ
หาจำนวนขด ให้ชาร์จแบตฯ12โวลต์ได้ที่รอบหมุน 100รอบ= (15.4) x 60 /1.732 x 1.56 x 2 x 0.0154 x 0.4 x 100
n = 924/ 3.32876
= 277.58
ถ้า 3 เฟสเลือกใช้ ที่ = 92.52 turn. พันด้วยมือ เผื่อเป็น 95รอบ
ถ้า 2 เฟสเลือกใช้ ที่ = 138.79 turn. พันด้วยมือ เผื่อเป็น 140รอบ
หาจำนวนขด ให้ชาร์จแบตฯ24โวลต์ได้ที่รอบหมุน 100รอบ= (30.8)x60/1.732 x 1.56 x 2 x 0.0154 x 0.4 x 100
n = 1848/3.32876
= 555.16168
ถ้า 3 เฟสเลือกใช้ ที่ = 185.05 turn. พันด้วยมือ เผื่อเป็น 190รอบ
ถ้า 2 เฟสเลือกใช้ ที่ = 277.58 turn. พันด้วยมือ เผื่อเป็น 280รอบ
หาจำนวนขด ให้ชาร์จแบตฯ12โวลต์ได้ที่รอบหมุน 60รอบ = (15.4) x 60/1.732 x 1.56 x 2 x 0.0154 x 0.4 x 60
n = 924/1.997256
= 462.63473
ถ้า 3 เฟสเลือกใช้ ที่ = 154.21 turn. พันด้วยมือ เผื่อเป็น 152รอบ
ถ้า 2 เฟสเลือกใช้ ที่ = 231.31 turn. พันด้วยมือ เผื่อเป็น 235รอบ
แทนค่า Vbatt = 14 Volte. ใน (Cool)
หาจำนวนขด ให้ชาร์จแบตฯ12โวลต์ได้ที่รอบหมุน 167รอบ = (14+
1.4) x 60 /
1.732 x
1.56 x 2 xn x0.0154 x 0.45 ผมไม่แน่ใจในตัวเลขเหล่านี้ หามาจากการคิดอย่างไร ช่วยแนะด้วยครับ
แทนค่า Vbatt = 14 Volte. ใน (Cool)
หาจำนวนขด ให้ชาร์จแบตฯ12โวลต์ได้ที่รอบหมุน 167รอบ = (14+1.4) x 60 /1.732 x 1.56 x 2 xn x0.0154 x 0.45 ผมไม่แน่ใจในตัวเลขเหล่านี้ หามาจากการคิดอย่างไร ช่วยแนะด้วยครับ
ได้ความจากคำตอบจากอีเมลย์ของลุง hugh ต้นตำหรับส่งมาให้ผมเมื่อหลายปีที่แล้วตามนี้นะครับ
Here are some useful equations for coil design
Average open circuit voltage (emf) for an alternator will be
Eave = 2*n*A *B*(rpm/60) volts
where Eave is average emf per phase
n is turns per coil (multiplied by number of coils connected in series)
A*B is flux in Webers
A is total area of poles in square metres
B is average flux density at poles in Tesla
(rpm/60) is revolutions per second
The peak voltage will be about 50% higher Epeak=1.56* Eave
If a three phase arrangement of coils is used then they are usually
connected Star (Wye) giving root(3)=1.73 higher output volts.
If this is fed through a rectifier, then the output is approximately
the peak with the forward biassing voltage of the diodes subtracted
Edc = Epeak*root(3)-1.4 volts for silicon diodes.
In this way you can establish the cut in speed of an alternator.
Where Edc = Vbat=battery voltage, the rpm can be found.
rpm = (Vbat+1.4)*60/(1.73*1.56*2*n*A *B)
You can also use E to predict the output current. There is no
current until Edc>Vbat. After that, current I will be
Idc=(Edc-Vbat)/R amps neglecting reactive effects (self induction)
Where the coils are wound on laminations, the inductance is strong
and it is hard to predict output current. The current will be
limited by the inductive reactance at higher speeds. With air-core
coils in a stator which does not contain iron, we can look at the
resistance R in ohms as the main impedance.
R =L/Aw*0.022*(1+0.004*(temp-70)) ohms
where L is the length of copper wire in the coils of one phase in metres
Aw is the wire cross sectional area in mm (pi()*square(diameter)/4)
temp is wire operating temperature in degrees C
Copper Loss = square(Idc)*R watts
รายละเอียดอยู่ที่ลิงค์นี้นะครับ
http://www.are101.org/forum/index.php?topic=41.01.4 = แรงดันตกคร่อมที่ซิลิคอนไดโอดในวงจรแปลงแรงดัน (Full Wave;Bridge Rectifier)จำนวน 2 ตัว= 0.7+0.7 = 1.4 โวลท์ ( เราต้องสร้างแรงดันที่สูงกว่าแบตฯบวกกับแรงดันที่จะตกคร่อมอุปกรณ์เซมิคอนดักเตอร์(ซิลิคอนไดโอด)ในวงจร จึงจะสามารถประจุไฟลงแบตเตอร์รี่ได้)
http://www.chontech.ac.th/~electric/html/rectifier.htm1.732 = Edc = Epeak*root(3)-1.4 volts for silicon diodes จากสมการนี้ เค้าแจ้งว่าการต่อวงจรโดยทั่วไปจะเป็นแบบ 3 เฟสต่อแบบสตาร์ จึงทำให้แรงดันที่ได้จะมีค่าเท่ากับ square root 3 = 1.732 ของแรงดันสูงสุด
1.56 = 1.56 นั้นได้มาจาก สมการนี้ครับ Vdc = 0.636*Vp (Full Wave;Bridge Rectifier) แรงดันดีซีหรือแรงดันเฉลี่ย นั้นจะมีค่าเท่ากับ 0.636 หรือ 0.637 ของแรงดันสูงสุด แล้วแต่จะปัดขึ้นหรือไม่ พอเราต้องการหาค่าแรงดันสูงสุดที่เราจะทำการออกแบบ เราจึงต้องย้ายสมการหาค้า Vp = (1/0.637)Vdc = 1.569Vdc
ที่มาของสมการนี้ Vdc = 0.636*Vp (Full Wave;Bridge Rectifier) คือการหาพื้นที่เฉลี่ยใต้รูปคลื่นซายน์เวฟ โดยคิดจากลูกคลื่นที่ได้มาจากวงจร Full Wave;Bridge Rectifier คือตั้งแต่ 0-360 องศา (0-2pi ; pi = 180 องศา)ได้สมการดังนี้
Vave = Vdc = 2Vp/pi ; pi = 3.14 (ในช่วง 0- 2pi จะมีลูกคลื่นอยู่ 2 ลูกจึงได้ 2Vp
= (0.636)VP
หวังว่าคงจะพอทำให้เข้าใจบ้างนะครับ (บางท่านอาจจะงงสักหน่อย แต่สำหรับท่านที่มีพื้นฐานทางวงจรไฟฟ้าก็คงไม่ยากนักนะครับ
ขอบคุณครับ