หน้า: 1 ... 162 163 164 165 166 167 168 169 170 171 [172] 173 174 175 176 177 178 179 180 181 182 183   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: รวมพล คนปลูกมัน ... สำปะหลัง  (อ่าน 2002244 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
watana
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 59


« ตอบ #2736 เมื่อ: กรกฎาคม 16, 2015, 04:18:13 PM »

ลำปางใครมีต้นพันธุ์ขายมั้งครับของผมเดี้ยงไปประมาณ 6ไร่   ร้องไห้
บันทึกการเข้า

peerapath
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 237


« ตอบ #2737 เมื่อ: กรกฎาคม 17, 2015, 01:51:29 PM »

ที่อุดร พันธุ์เกษตรศาสตร จะขุดกลางๆสิงหานี้ สนใจติดต่อได้ครับ
บันทึกการเข้า
t.hnongkinpen
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 132


« ตอบ #2738 เมื่อ: กรกฎาคม 21, 2015, 11:58:16 AM »

มีท่านใดใช้ แคลเซี่ยม-โบรอน ในการทำให้มันฯลงหัวหรือสะสมแป้งบ้างครับ
 แคลเซี่ยม-โบรอนนอกจากจะช่วยเรื่องการทำไม้ผลออกนอกฤดู การทำให้ไม้ผลติดผลดก
และทำให้รสชาติไม้ผลดีแล้ว แต่หลักการการเคลื่อนย้ายแป้ง ของโบรอน และการที่แคลเซี่ยม
มีส่วนในการเคลื่อนย้ายและเก็บรักษาคาร์โบไฮเดรตและโปรตีน จึงถูกนำไปใช้งานในด้านการลงหัวของมันไม่น้อยครับ
มีลูกค้าส่วนนึงมสั่งไปเป็นจำนวนมาก เค้าบอกว่ามันถูกกว่า ฮอร์โมนระเบิดหัวมันที่เคยใช้
แต่ได้ผลพอๆกัน โดยแรกเริ่ม เค้าบอกว่าได้เข้าอบรมกับหน่วยงานบางหน่วยงาน และได้รับคำแนะนำเรื่องนี้มา
แต่ที่มาที่ไปเค้าไม่รู้ว่ามันมีผลต่อการลงหัวยังไง
  ผมก็พึ่งดูรายละเอียดในส่วนที่ว่าช่วยในการเคลื่อนย้ายแป้งและเก็บรักษาคาร์โบไฮเดรต
ก็จะลองใช้ดูเหมือนกัน แต่ก็ยังไม่ทิ้ง 0-0-60 เพราะกลัวไม่ชัวร์
ยังไงใครจะลองเอาแนวความรู้นี้ไปลองใช้ก็ได้ครับ น่าสนใจดี


Liked By: Taweekrit
บันทึกการเข้า
kmsmily
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3554


« ตอบ #2739 เมื่อ: กรกฎาคม 22, 2015, 06:57:08 AM »

ธาตุโบรอนและธาตุโพแทสเซียม เป็นรถบรรทุกขนย้ายน้ำตาลจากส่วนต่างๆมายังหัวมันเปลี่ยนเป็นแป้งเก็บไว้ ถ้าโกดังเก็บเต็มก็จะขนมาไม่ได้องค์ประกอบทุกอย่างต้องส่งเสริมกันด้วยครับ ถ้าศึกษาการเคลื่อนย้ายของธาตุแคลเซียม-โบรอน จะเห็นว่าเคลื่อนย้ายเฉพาะท่อไซเลม (ลำเลียงธาตุอาหาร) เข้าทางปลายราก การฉีดพ่นทางใบสารต่างๆจะเข้าทางท่อโพแอม (ลำเลียงสารอาหาร) เข้าทางปากใบพืช ปุจฉา...การฉีดพ่นธาตุแคลเซียม-โบรอนทางใบต้นพืชนำไปใช้ได้จริงหรือ...?


Liked By: Taweekrit, sompol
บันทึกการเข้า
t.hnongkinpen
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 132


« ตอบ #2740 เมื่อ: กรกฎาคม 22, 2015, 11:39:04 AM »

ธาตุโบรอนและธาตุโพแทสเซียม เป็นรถบรรทุกขนย้ายน้ำตาลจากส่วนต่างๆมายังหัวมันเปลี่ยนเป็นแป้งเก็บไว้ ถ้าโกดังเก็บเต็มก็จะขนมาไม่ได้องค์ประกอบทุกอย่างต้องส่งเสริมกันด้วยครับ ถ้าศึกษาการเคลื่อนย้ายของธาตุแคลเซียม-โบรอน จะเห็นว่าเคลื่อนย้ายเฉพาะท่อไซเลม (ลำเลียงธาตุอาหาร) เข้าทางปลายราก การฉีดพ่นทางใบสารต่างๆจะเข้าทางท่อโพแอม (ลำเลียงสารอาหาร) เข้าทางปากใบพืช ปุจฉา...การฉีดพ่นธาตุแคลเซียม-โบรอนทางใบต้นพืชนำไปใช้ได้จริงหรือ...?
ในด้านหลักการดูดซึมธาตุอาหาร ชาวสวนนาไร่ทั่วไปคงจะตอบเรื่องนี้ยาก แต่ปกติชาวสวนนาไร่ โดยเฉพาะชาวสวสผลไม้และมะนาวก็ฉีด
สารเหล่านี้ทางใบและได้ผลในด้านผลดก ลดหลุดร่วง ขั้วเหนียว แต่ไม่รู้ว่าเขารู้หลักการการดูดซึมที่พืชมีต่อสารทั้งสองหรือไม่
ที่แน่ๆถ้ามันดูดซึมผ่านทางใบและนำไปใช้งาน ก็จะทำให้แคลเซี่ยมและโบรอนเกิดประโยชน์กับพืชไม่น้อยครับ
ถ้ามันมีผลกับพืชกินผล(ซึ่งเค้าใช้มานมนาน)แสดงว่ามันก็คงดูดซึมทางใบได้ ใช่มั๊ยครับ
ดังนั้นถ้าเอามาฉีดพืชตระกูลหัว ซึ่งมีใบเช่นกันมันก็ต้องดูดซึมเข้าทางใบได้
นำมาซึ่งการทดลองต่างๆและการใช้งานจริง จนเป็นผลที่ถูกเผยแพร่
   *** ประสิทธิภาพการดูดซึม ธาตุแคลเซี่ยม-โบรอน ทางใบของพืช มีมากน้อยเพียงใด ผมก็วานผู้รู้มาตอบเช่นกันครับ***

แต่ถ้าเราข้ามส่วนนั้นไปก่อนแล้วมาดูตรงที่ว่ามีหลายคนนำไปใช้กับการลงหัวแล้วได้ผล อาจจะมาจากเพราะหลักการนี้ครับ
 แคลเซี่ยม ทำให้พืชนำไนโตรเจนจากดินไปใช้ประโยชน์มากขึ้นเผาผลาญไนโตรเจนมากขึ้นยามที่พืชต้องใช้พลังงานเยอะ
และแคลเซี่ยม มีส่วนในการเก็บรักษาคาร์โบไฮเดรต(ในมันฯคงเป็นรูปแบบแป้ง)และโปรตีนในพืช

โบรอน ช่วยดูดธาตุแคลเซี่ยมและไนโตรเจนมากขึ้นและทำให้พืชใช้งานโพแทสเซี่ยมได้ดีขึ้นและมากขึ้น
        และเนื่องจากโพแทสเซี่ยมเป็นธาตุอาหารที่ใช้ในกระบวนการการสร้างแป้งและน้ำตาล เมื่อโบรอนทำให้พืชใช้งานโพแทสเซี่ยม
ได้ดีขึ้นมีประสิทธิภาพขึ้น ก็จะได้แป้งที่มากขึ้น(ในส่วนของมันฯ) อีกทั้งโบรอนยังมีหน้าที่ในการเคลื่อนย้ายแป้งและน้ำตาล
ที่เป็นผลผลิตจากการทำงานของโพแทสเซี่ยม และที่สำคัญโบรอน ช่วยควบคุมการดูดและคายน้ำของพืชในกระบวนการสังเคราะอาหารอีกด้วย

 ก็อย่างท่าน kmsmily เกริ่นไว้ หลายอย่างต้องทำงานร่วมกันครับ
และตามหลักแหละครับ เราใช้พวกนี้ก็ต่อเมื่อดินมันขาด ถ้าดินของเรามีและสมบูรณ์ด้วยธาตุรองเหล่านี้
มันก็คงง่ายที่จะดูดซึมทางราก ก็คงไม่ต้องใช้พ่นทางใบ แต่เราไม่รู้ว่าดินเรามีมากน้อยแค่ใหนหรือไม่มีเลย
ดังนั้นเราจึงใช้กรณีที่มันขาด หรือ *** ต้องการผลผลิตที่จะเกิดจากการเพิ่มธาตุพวกนี้มากขึ้นกว่าปกคิ**


Liked By: Taweekrit
บันทึกการเข้า
t.hnongkinpen
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 132


« ตอบ #2741 เมื่อ: กรกฎาคม 22, 2015, 02:38:59 PM »

ธาตุโบรอนและธาตุโพแทสเซียม เป็นรถบรรทุกขนย้ายน้ำตาลจากส่วนต่างๆมายังหัวมันเปลี่ยนเป็นแป้งเก็บไว้ ถ้าโกดังเก็บเต็มก็จะขนมาไม่ได้องค์ประกอบทุกอย่างต้องส่งเสริมกันด้วยครับ ถ้าศึกษาการเคลื่อนย้ายของธาตุแคลเซียม-โบรอน จะเห็นว่าเคลื่อนย้ายเฉพาะท่อไซเลม (ลำเลียงธาตุอาหาร) เข้าทางปลายราก การฉีดพ่นทางใบสารต่างๆจะเข้าทางท่อโพแอม (ลำเลียงสารอาหาร) เข้าทางปากใบพืช ปุจฉา...การฉีดพ่นธาตุแคลเซียม-โบรอนทางใบต้นพืชนำไปใช้ได้จริงหรือ...?
ในด้านหลักการดูดซึมธาตุอาหาร ชาวสวนนาไร่ทั่วไปคงจะตอบเรื่องนี้ยาก แต่ปกติชาวสวนนาไร่ โดยเฉพาะชาวสวสผลไม้และมะนาวก็ฉีด
สารเหล่านี้ทางใบและได้ผลในด้านผลดก ลดหลุดร่วง ขั้วเหนียว แต่ไม่รู้ว่าเขารู้หลักการการดูดซึมที่พืชมีต่อสารทั้งสองหรือไม่
ที่แน่ๆถ้ามันดูดซึมผ่านทางใบและนำไปใช้งาน ก็จะทำให้แคลเซี่ยมและโบรอนเกิดประโยชน์กับพืชไม่น้อยครับ
ถ้ามันมีผลกับพืชกินผล(ซึ่งเค้าใช้มานมนาน)แสดงว่ามันก็คงดูดซึมทางใบได้ ใช่มั๊ยครับ
ดังนั้นถ้าเอามาฉีดพืชตระกูลหัว ซึ่งมีใบเช่นกันมันก็ต้องดูดซึมเข้าทางใบได้
นำมาซึ่งการทดลองต่างๆและการใช้งานจริง จนเป็นผลที่ถูกเผยแพร่
   *** ประสิทธิภาพการดูดซึม ธาตุแคลเซี่ยม-โบรอน ทางใบของพืช มีมากน้อยเพียงใด ผมก็วานผู้รู้มาตอบเช่นกันครับ***

แต่ถ้าเราข้ามส่วนนั้นไปก่อนแล้วมาดูตรงที่ว่ามีหลายคนนำไปใช้กับการลงหัวแล้วได้ผล อาจจะมาจากเพราะหลักการนี้ครับ
 แคลเซี่ยม ทำให้พืชนำไนโตรเจนจากดินไปใช้ประโยชน์มากขึ้นเผาผลาญไนโตรเจนมากขึ้นยามที่พืชต้องใช้พลังงานเยอะ
และแคลเซี่ยม มีส่วนในการเก็บรักษาคาร์โบไฮเดรต(ในมันฯคงเป็นรูปแบบแป้ง)และโปรตีนในพืช

โบรอน ช่วยดูดธาตุแคลเซี่ยมและไนโตรเจนมากขึ้นและทำให้พืชใช้งานโพแทสเซี่ยมได้ดีขึ้นและมากขึ้น
        และเนื่องจากโพแทสเซี่ยมเป็นธาตุอาหารที่ใช้ในกระบวนการการสร้างแป้งและน้ำตาล เมื่อโบรอนทำให้พืชใช้งานโพแทสเซี่ยม
ได้ดีขึ้นมีประสิทธิภาพขึ้น ก็จะได้แป้งที่มากขึ้น(ในส่วนของมันฯ) อีกทั้งโบรอนยังมีหน้าที่ในการเคลื่อนย้ายแป้งและน้ำตาล
ที่เป็นผลผลิตจากการทำงานของโพแทสเซี่ยม และที่สำคัญโบรอน ช่วยควบคุมการดูดและคายน้ำของพืชในกระบวนการสังเคราะอาหารอีกด้วย

 ก็อย่างท่าน kmsmily เกริ่นไว้ หลายอย่างต้องทำงานร่วมกันครับ
และตามหลักแหละครับ เราใช้พวกนี้ก็ต่อเมื่อดินมันขาด ถ้าดินของเรามีและสมบูรณ์ด้วยธาตุรองเหล่านี้
มันก็คงง่ายที่จะดูดซึมทางราก ก็คงไม่ต้องใช้พ่นทางใบ แต่เราไม่รู้ว่าดินเรามีมากน้อยแค่ใหนหรือไม่มีเลย
ดังนั้นเราจึงใช้กรณีที่มันขาด หรือ *** ต้องการผลผลิตที่จะเกิดจากการเพิ่มธาตุพวกนี้มากขึ้นกว่าปกคิ**


 ที่กล่าวมานี้คือหลัการ ทำงานของแคลเซี่ยม-โบรอนต่อพืชตระกูลกินหัว
แต่ปกติ 2ตัวนี้นิยมมากในการทำไม้ผล ซึ่งหลากการทำงานต่อพืชตระกูลไม้ผล
ธาตุ2ตัวมีประโยชน์มากแหละมีหลักการทำงานที่มีรายละเอียดปลีกย่อยออกไปอีกหลายประการ
ซึ่งขอยกไว้เพราะไม่เกี่ยวกับพืชตระกูลหัวที่เรา โฟกัสครับ


Liked By: Taweekrit
บันทึกการเข้า
kmsmily
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3554


« ตอบ #2742 เมื่อ: กรกฎาคม 22, 2015, 08:51:06 PM »

ธาตุโบรอนและธาตุโพแทสเซียม เป็นรถบรรทุกขนย้ายน้ำตาลจากส่วนต่างๆมายังหัวมันเปลี่ยนเป็นแป้งเก็บไว้ ถ้าโกดังเก็บเต็มก็จะขนมาไม่ได้องค์ประกอบทุกอย่างต้องส่งเสริมกันด้วยครับ ถ้าศึกษาการเคลื่อนย้ายของธาตุแคลเซียม-โบรอน จะเห็นว่าเคลื่อนย้ายเฉพาะท่อไซเลม (ลำเลียงธาตุอาหาร) เข้าทางปลายราก การฉีดพ่นทางใบสารต่างๆจะเข้าทางท่อโพแอม (ลำเลียงสารอาหาร) เข้าทางปากใบพืช ปุจฉา...การฉีดพ่นธาตุแคลเซียม-โบรอนทางใบต้นพืชนำไปใช้ได้จริงหรือ...?
ในด้านหลักการดูดซึมธาตุอาหาร ชาวสวนนาไร่ทั่วไปคงจะตอบเรื่องนี้ยาก แต่ปกติชาวสวนนาไร่ โดยเฉพาะชาวสวสผลไม้และมะนาวก็ฉีด
สารเหล่านี้ทางใบและได้ผลในด้านผลดก ลดหลุดร่วง ขั้วเหนียว แต่ไม่รู้ว่าเขารู้หลักการการดูดซึมที่พืชมีต่อสารทั้งสองหรือไม่
ที่แน่ๆถ้ามันดูดซึมผ่านทางใบและนำไปใช้งาน ก็จะทำให้แคลเซี่ยมและโบรอนเกิดประโยชน์กับพืชไม่น้อยครับ
ถ้ามันมีผลกับพืชกินผล(ซึ่งเค้าใช้มานมนาน)แสดงว่ามันก็คงดูดซึมทางใบได้ ใช่มั๊ยครับ
ดังนั้นถ้าเอามาฉีดพืชตระกูลหัว ซึ่งมีใบเช่นกันมันก็ต้องดูดซึมเข้าทางใบได้
นำมาซึ่งการทดลองต่างๆและการใช้งานจริง จนเป็นผลที่ถูกเผยแพร่
   *** ประสิทธิภาพการดูดซึม ธาตุแคลเซี่ยม-โบรอน ทางใบของพืช มีมากน้อยเพียงใด ผมก็วานผู้รู้มาตอบเช่นกันครับ***

แต่ถ้าเราข้ามส่วนนั้นไปก่อนแล้วมาดูตรงที่ว่ามีหลายคนนำไปใช้กับการลงหัวแล้วได้ผล อาจจะมาจากเพราะหลักการนี้ครับ
 แคลเซี่ยม ทำให้พืชนำไนโตรเจนจากดินไปใช้ประโยชน์มากขึ้นเผาผลาญไนโตรเจนมากขึ้นยามที่พืชต้องใช้พลังงานเยอะ
และแคลเซี่ยม มีส่วนในการเก็บรักษาคาร์โบไฮเดรต(ในมันฯคงเป็นรูปแบบแป้ง)และโปรตีนในพืช

โบรอน ช่วยดูดธาตุแคลเซี่ยมและไนโตรเจนมากขึ้นและทำให้พืชใช้งานโพแทสเซี่ยมได้ดีขึ้นและมากขึ้น
        และเนื่องจากโพแทสเซี่ยมเป็นธาตุอาหารที่ใช้ในกระบวนการการสร้างแป้งและน้ำตาล เมื่อโบรอนทำให้พืชใช้งานโพแทสเซี่ยม
ได้ดีขึ้นมีประสิทธิภาพขึ้น ก็จะได้แป้งที่มากขึ้น(ในส่วนของมันฯ) อีกทั้งโบรอนยังมีหน้าที่ในการเคลื่อนย้ายแป้งและน้ำตาล
ที่เป็นผลผลิตจากการทำงานของโพแทสเซี่ยม และที่สำคัญโบรอน ช่วยควบคุมการดูดและคายน้ำของพืชในกระบวนการสังเคราะอาหารอีกด้วย

 ก็อย่างท่าน kmsmily เกริ่นไว้ หลายอย่างต้องทำงานร่วมกันครับ
และตามหลักแหละครับ เราใช้พวกนี้ก็ต่อเมื่อดินมันขาด ถ้าดินของเรามีและสมบูรณ์ด้วยธาตุรองเหล่านี้
มันก็คงง่ายที่จะดูดซึมทางราก ก็คงไม่ต้องใช้พ่นทางใบ แต่เราไม่รู้ว่าดินเรามีมากน้อยแค่ใหนหรือไม่มีเลย
ดังนั้นเราจึงใช้กรณีที่มันขาด หรือ *** ต้องการผลผลิตที่จะเกิดจากการเพิ่มธาตุพวกนี้มากขึ้นกว่าปกคิ**


 ที่กล่าวมานี้คือหลัการ ทำงานของแคลเซี่ยม-โบรอนต่อพืชตระกูลกินหัว
แต่ปกติ 2ตัวนี้นิยมมากในการทำไม้ผล ซึ่งหลากการทำงานต่อพืชตระกูลไม้ผล
ธาตุ2ตัวมีประโยชน์มากแหละมีหลักการทำงานที่มีรายละเอียดปลีกย่อยออกไปอีกหลายประการ
ซึ่งขอยกไว้เพราะไม่เกี่ยวกับพืชตระกูลหัวที่เรา โฟกัสครับ
ดังนั้นหากดินขาดธาตุไนโตรเจน และธาตุโพแทสเซียม การฉีดพ่นมันสำปะหลังด้วยแคลเซียม-โบรอน จะทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นได้หรือครับ
หลักการคือ เติมทางดินไว้ให้เพียงพอ สมดุลไว้ก่อน ฉีดพ่นเสริมเมื่อพืชแสดงอาการขาดธาตุนั้นๆ อย่าลืมหากพืชมีธาตุแคลเซียมมากพืชจะแสดงอาการขาดธาตุโบรอน แมกนีเซียม โพแทสเซียม ฟอสเฟต ได้เช่นกัน ก่อนใช้ธาตุอาหารฉีดพ่นทางใบควรวิเคราะห์ก่อนว่าพืชขาดหรือเปล่าจะดีกว่าไหมครับ... ฮืม


Liked By: Taweekrit, sompol
บันทึกการเข้า
t.hnongkinpen
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 132


« ตอบ #2743 เมื่อ: กรกฎาคม 23, 2015, 02:29:25 PM »

ธาตุโบรอนและธาตุโพแทสเซียม เป็นรถบรรทุกขนย้ายน้ำตาลจากส่วนต่างๆมายังหัวมันเปลี่ยนเป็นแป้งเก็บไว้ ถ้าโกดังเก็บเต็มก็จะขนมาไม่ได้องค์ประกอบทุกอย่างต้องส่งเสริมกันด้วยครับ ถ้าศึกษาการเคลื่อนย้ายของธาตุแคลเซียม-โบรอน จะเห็นว่าเคลื่อนย้ายเฉพาะท่อไซเลม (ลำเลียงธาตุอาหาร) เข้าทางปลายราก การฉีดพ่นทางใบสารต่างๆจะเข้าทางท่อโพแอม (ลำเลียงสารอาหาร) เข้าทางปากใบพืช ปุจฉา...การฉีดพ่นธาตุแคลเซียม-โบรอนทางใบต้นพืชนำไปใช้ได้จริงหรือ...?
ในด้านหลักการดูดซึมธาตุอาหาร ชาวสวนนาไร่ทั่วไปคงจะตอบเรื่องนี้ยาก แต่ปกติชาวสวนนาไร่ โดยเฉพาะชาวสวสผลไม้และมะนาวก็ฉีด
สารเหล่านี้ทางใบและได้ผลในด้านผลดก ลดหลุดร่วง ขั้วเหนียว แต่ไม่รู้ว่าเขารู้หลักการการดูดซึมที่พืชมีต่อสารทั้งสองหรือไม่
ที่แน่ๆถ้ามันดูดซึมผ่านทางใบและนำไปใช้งาน ก็จะทำให้แคลเซี่ยมและโบรอนเกิดประโยชน์กับพืชไม่น้อยครับ
ถ้ามันมีผลกับพืชกินผล(ซึ่งเค้าใช้มานมนาน)แสดงว่ามันก็คงดูดซึมทางใบได้ ใช่มั๊ยครับ
ดังนั้นถ้าเอามาฉีดพืชตระกูลหัว ซึ่งมีใบเช่นกันมันก็ต้องดูดซึมเข้าทางใบได้
นำมาซึ่งการทดลองต่างๆและการใช้งานจริง จนเป็นผลที่ถูกเผยแพร่
   *** ประสิทธิภาพการดูดซึม ธาตุแคลเซี่ยม-โบรอน ทางใบของพืช มีมากน้อยเพียงใด ผมก็วานผู้รู้มาตอบเช่นกันครับ***

แต่ถ้าเราข้ามส่วนนั้นไปก่อนแล้วมาดูตรงที่ว่ามีหลายคนนำไปใช้กับการลงหัวแล้วได้ผล อาจจะมาจากเพราะหลักการนี้ครับ
 แคลเซี่ยม ทำให้พืชนำไนโตรเจนจากดินไปใช้ประโยชน์มากขึ้นเผาผลาญไนโตรเจนมากขึ้นยามที่พืชต้องใช้พลังงานเยอะ
และแคลเซี่ยม มีส่วนในการเก็บรักษาคาร์โบไฮเดรต(ในมันฯคงเป็นรูปแบบแป้ง)และโปรตีนในพืช

โบรอน ช่วยดูดธาตุแคลเซี่ยมและไนโตรเจนมากขึ้นและทำให้พืชใช้งานโพแทสเซี่ยมได้ดีขึ้นและมากขึ้น
        และเนื่องจากโพแทสเซี่ยมเป็นธาตุอาหารที่ใช้ในกระบวนการการสร้างแป้งและน้ำตาล เมื่อโบรอนทำให้พืชใช้งานโพแทสเซี่ยม
ได้ดีขึ้นมีประสิทธิภาพขึ้น ก็จะได้แป้งที่มากขึ้น(ในส่วนของมันฯ) อีกทั้งโบรอนยังมีหน้าที่ในการเคลื่อนย้ายแป้งและน้ำตาล
ที่เป็นผลผลิตจากการทำงานของโพแทสเซี่ยม และที่สำคัญโบรอน ช่วยควบคุมการดูดและคายน้ำของพืชในกระบวนการสังเคราะอาหารอีกด้วย

 ก็อย่างท่าน kmsmily เกริ่นไว้ หลายอย่างต้องทำงานร่วมกันครับ
และตามหลักแหละครับ เราใช้พวกนี้ก็ต่อเมื่อดินมันขาด ถ้าดินของเรามีและสมบูรณ์ด้วยธาตุรองเหล่านี้
มันก็คงง่ายที่จะดูดซึมทางราก ก็คงไม่ต้องใช้พ่นทางใบ แต่เราไม่รู้ว่าดินเรามีมากน้อยแค่ใหนหรือไม่มีเลย
ดังนั้นเราจึงใช้กรณีที่มันขาด หรือ *** ต้องการผลผลิตที่จะเกิดจากการเพิ่มธาตุพวกนี้มากขึ้นกว่าปกคิ**


 ที่กล่าวมานี้คือหลัการ ทำงานของแคลเซี่ยม-โบรอนต่อพืชตระกูลกินหัว
แต่ปกติ 2ตัวนี้นิยมมากในการทำไม้ผล ซึ่งหลากการทำงานต่อพืชตระกูลไม้ผล
ธาตุ2ตัวมีประโยชน์มากแหละมีหลักการทำงานที่มีรายละเอียดปลีกย่อยออกไปอีกหลายประการ
ซึ่งขอยกไว้เพราะไม่เกี่ยวกับพืชตระกูลหัวที่เรา โฟกัสครับ
ดังนั้นหากดินขาดธาตุไนโตรเจน และธาตุโพแทสเซียม การฉีดพ่นมันสำปะหลังด้วยแคลเซียม-โบรอน จะทำให้ผลผลิตเพิ่มขึ้นได้หรือครับ
หลักการคือ เติมทางดินไว้ให้เพียงพอ สมดุลไว้ก่อน ฉีดพ่นเสริมเมื่อพืชแสดงอาการขาดธาตุนั้นๆ อย่าลืมหากพืชมีธาตุแคลเซียมมากพืชจะแสดงอาการขาดธาตุโบรอน แมกนีเซียม โพแทสเซียม ฟอสเฟต ได้เช่นกัน ก่อนใช้ธาตุอาหารฉีดพ่นทางใบควรวิเคราะห์ก่อนว่าพืชขาดหรือเปล่าจะดีกว่าไหมครับ... ฮืม

  บางทีถึงพืชมันไม่ขาดหรือมันมีอยู่แต่มีอยู่น้อย ก็จำเป็นต้องใส่ถ้าเป็นกรณีที่เราต้องการผลผลิตสูง
หรือผลผลิตเพิ่มขึ้น ถ้าเราปลูกมันไว้เพื่อความสสวยงาม หรือดูเล่น ธาตุอาหารมันมีนิดๆหน่อยมันฯก็อยู่ได้ครับ จากอายุ 1สัปดาห์ถึง
1ปี แต่ทุกวันนี้ที่เราใส่ปุ๋ยนั่นีี่ก็เพราะเราต้องการผลผลิตเพิ่ม ถ้าไม่ต้องการผลผลิตเพิ่มเพื่อรับกับราคาพืชผลที่ดีๆเราไม่ต้องใส่ปุ๋ยหรือฮอร์โมนอะไรก็ได้ครับ
แต่เราทำเกษตรเพื่อการค้า(เงิน) ทุกคนก็คงต้องการผลผลิตที่มากขึ้นกว่าปกติจึงต้องใส่นั่นนี่เพิ่มขึ้น
  ครับเราใส่ปุ๋ยหรือฮอร์โมนหรือเสริมธาตุนั่นนี่กรณีที่ดินมันขาด แต่ถ้าดินมันไม่ขาดคือมีอยู่แต่ไม่เพียงพอที่จะเพิ่มผลผลิตให้เราตามที่เราต้องการเราก็ต้อง
หามาใส่ ถ้ามีวิธิหรือปุ๋ยชนิดใด หรือสารใดๆที่ทำให้ผลผลิตมันฯเพิ่มขึ้นก็ลองๆทำกันดูเพียงแค่พยายามให้ลดต้นทุนลงให้ได้ด้วย
ไม่จำเป็น ต้องใส่ แคลเซียม-โบรอน อย่างที่ผมว่าก็ได้ครับ 
  อย่างที่ท่านว่าครับ หากพืชได้รับธาตุแคลเซี่ยมมาก อาจแสดงอาการขาดโบรอน ได้
สารสองตัวนี้ ส่วนมากจะผู้ผลิตจะผลิตคู่กัน(แแบน้ำ) การใช้งาน(กับมันฯ)ถึงต้องใส่ปุ๋ย ที่มีธาตุโพแทสเซี่ยม
ในสัดส่วนที่มากๆ ใน1กระสอบใส่ไปก่อน แล้วถึงฉีดสารพวกนี้ตามภายใน3-7วัน
ใครไม่สะดวกหรือไม่สนใจทดลองก็ไม่เป็นไรครับทถ้าท่านมีวิธีการเพิ่มผลผลิตแต่ลดต้นทุนเป็นรูปแบบของตัวเองอยู่แล้ว
   *** อย่างไรก็ตามนะครับ การนำแคลเซี่ยม-โบรอนใช้กับมันฯและพืชตระกูลหัวมีจริงเกิดขึ้นจริง และไม่ใช่ผมเป็นคนต้นคิดหรือริเริ่ม
เพียงแต่ผมนำประสบการณของคนที่เคยใช้งานมาแชร์ หากท่านใดสนใจจะหามาทดลองก็ได้ หรือคิดว่าไม่น่าสนใจหรือไม่น่าคุ้มก็ให้ผ่านนะครับ***
  ขอบพระคุณท่าน kmsmily ที่ท้วงติง ผมจะทดลองอย่างระมัดระวังได้ผลยังไง จะรายงานให้ทราบครับ



Liked By: Taweekrit
บันทึกการเข้า
kmsmily
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3554


« ตอบ #2744 เมื่อ: กรกฎาคม 23, 2015, 06:44:07 PM »

การสังเกตุดินปลูกมันสำปะหลังของเราขาดธาตุแคลเซียม-โบรอนหรือไม่ ช่วงมันฯเริ่มกระทบแล้งจะมีอาการตามรูปภาพ ปลูกมันสำปะหลังอีกรอบเสริมธาตุแคลเซียม-โบรอนได้เลยครับ
 


Liked By: t.hnongkinpen, sompol
บันทึกการเข้า
peerapath
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 237


« ตอบ #2745 เมื่อ: กรกฎาคม 27, 2015, 03:04:00 PM »

พวงเพชร 3 เดือน 5 วัน เจอฝนเท่านั้นละ






Liked By: Taweekrit, sompol
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กรกฎาคม 27, 2015, 03:13:15 PM โดย peerapath » บันทึกการเข้า
watana
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 59


« ตอบ #2746 เมื่อ: กรกฎาคม 27, 2015, 03:36:37 PM »

พันธุ์ใหม่เหรอครับ พวงเพฃร


Liked By: Taweekrit, sompol
บันทึกการเข้า
peerapath
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 237


« ตอบ #2747 เมื่อ: กรกฎาคม 27, 2015, 04:29:09 PM »

พันธุ์ใหม่เหรอครับ พวงเพฃร
ตัวนี้ยังไม่มีการับรองครับ แต่ถูกพัฒนาจากเจ้าหน้าที่ซึ่งเขาทำเป็นการส่วนตัว เพราะถูกปรามาศว่าไม่สามารถทำพันธ์มันฯได้สำเร็จฯ แล้วนำมาให้ญาติพี่น้องปลูกปรากฎว่าเป็นที่ยอมรับของพี่น้องและเพื่อนบ้านใกล้เคียงครับ หัวดก ใหญ่ เปอร์เซนแป้งสูง ดูแลง่าย ทนแล้ง (ข้อมูลนี้น้องเขาเล่ามาอีกทีนะครับ ข้อมูลส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มเฟตครับ)
ถ้าตามดูรูปที่ผมลงไว้ตอนเริ่มปลูกเมื่อปลายเดือนเมษาที่ผ่านมา เปรียบกันระวาง ห้วยบง พวงเชชร นาคขาว สภาพดินตอนปลูกดินชุ่มนิดเดียวเองครับ ปรากฎว่าพ่วงเพชรเปอร์เซนการงอกสูงกว่าเพื่อนครับ รอดูผลผลิตต่อไปครับ (รูปที่ผมถ่ายลงจะถ่ายมุมเดียวตั้งแรกเริ่มปลูกมาเลยครับ )


Liked By: Taweekrit, sompol
บันทึกการเข้า
watana
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 59


« ตอบ #2748 เมื่อ: กรกฎาคม 27, 2015, 06:23:51 PM »

ต้นสวยมากครับ ไร่เรี่ยกันหมด แต่ว่าปลูกถี่ไปนิดนะครับ


Liked By: Taweekrit, sompol
บันทึกการเข้า
Aomsin & Earth
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2148


« ตอบ #2749 เมื่อ: กรกฎาคม 28, 2015, 10:39:22 AM »

เก็บต้นพันธ์ไว้ให้ผมบ้างนะครับปีหน้าจะไปขอขยายหน่อยครับ


Liked By: Taweekrit, sompol
บันทึกการเข้า
t.hnongkinpen
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 132


« ตอบ #2750 เมื่อ: กรกฎาคม 28, 2015, 10:58:02 AM »

พันธุ์ใหม่เหรอครับ พวงเพฃร
ตัวนี้ยังไม่มีการับรองครับ แต่ถูกพัฒนาจากเจ้าหน้าที่ซึ่งเขาทำเป็นการส่วนตัว เพราะถูกปรามาศว่าไม่สามารถทำพันธ์มันฯได้สำเร็จฯ แล้วนำมาให้ญาติพี่น้องปลูกปรากฎว่าเป็นที่ยอมรับของพี่น้องและเพื่อนบ้านใกล้เคียงครับ หัวดก ใหญ่ เปอร์เซนแป้งสูง ดูแลง่าย ทนแล้ง (ข้อมูลนี้น้องเขาเล่ามาอีกทีนะครับ ข้อมูลส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มเฟตครับ)
ถ้าตามดูรูปที่ผมลงไว้ตอนเริ่มปลูกเมื่อปลายเดือนเมษาที่ผ่านมา เปรียบกันระวาง ห้วยบง พวงเชชร นาคขาว สภาพดินตอนปลูกดินชุ่มนิดเดียวเองครับ ปรากฎว่าพ่วงเพชรเปอร์เซนการงอกสูงกว่าเพื่อนครับ รอดูผลผลิตต่อไปครับ (รูปที่ผมถ่ายลงจะถ่ายมุมเดียวตั้งแรกเริ่มปลูกมาเลยครับ )

น่าสนใจมากครับ ขอตามผลงานพันธ์นี้ด้วยคนครับ


Liked By: Taweekrit, sompol
บันทึกการเข้า
peerapath
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 237


« ตอบ #2751 เมื่อ: กรกฎาคม 28, 2015, 11:06:26 AM »

เก็บต้นพันธ์ไว้ให้ผมบ้างนะครับปีหน้าจะไปขอขยายหน่อยครับ
ได้ครับ ผมไปขอแบ่งน้องมาจากกาฬสินธ์ ลำละ 7 บาท ครับ ดูผลผลิตก่อนค่อยว่ากัน เพราะหลายท่านบอกว่าต้นพันธุ์ไม่ใช่ปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่ที่การดูแล (ผมมีเวลาดูแลแค่เสา อาทิตย์นะครับ)


Liked By: Taweekrit, sompol
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 ... 162 163 164 165 166 167 168 169 170 171 [172] 173 174 175 176 177 178 179 180 181 182 183   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป: