หน้า: 1 2 3 4 5 [6]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: มาช่วยกันวางระบบรดน้ำที่สวนกันดีกว่า..อัตโนมัตด้วย  (อ่าน 191513 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 2 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
arsun
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 479


« ตอบ #80 เมื่อ: ตุลาคม 06, 2012, 09:33:25 AM »

ขอบคุณครับ อายจัง อายจัง อายจัง อายจัง อายจัง อายจัง อายจัง


Liked By: Steve_Jeab
บันทึกการเข้า

wangthong1
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 45


« ตอบ #81 เมื่อ: ตุลาคม 12, 2012, 03:03:14 PM »

ขอบคุณครับ ต้องไปทำตามบ้าง


Liked By: Steve_Jeab
บันทึกการเข้า
paikla
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 276


« ตอบ #82 เมื่อ: เมษายน 08, 2013, 03:13:19 PM »

น่าติดตาม


Liked By: Steve_Jeab
บันทึกการเข้า
PitakW
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 10


« ตอบ #83 เมื่อ: พฤษภาคม 10, 2013, 03:57:42 AM »

ผมก็กำลังจะทำพอดีครับเอาไว้รดน้ำต้นใม้ที่บ้าน เลยเป็นการใด้รับความรู้เพิ่มที่ดีมากๆ ครับ ขอบคุณอีกครั้ง


Liked By: Steve_Jeab
บันทึกการเข้า
Ratthapatch
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 698


« ตอบ #84 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 27, 2014, 10:34:42 AM »

ลุงแว่นครับ ผมขอถามนิดนึงนะครับ หรือใครที่รู้ตอบผมด้วยได้ครับ คือผมเข้าใจหลักการทำงานของ แอร์แว หรือท่อดักอากาศที่ออกจากปั๊มดันออกมา แต่พอมาถึงท่อดักอากาศ ฟองอากาศเหล่านั้นก้อจะขึ้นไปรวมกันที่ปลายท่อที่สูงของ ท่อดักอากาศแล้วจะทำให้เกิดแรงดัน น้ำมาสมทบกับปั๊ม ตรงนี้พอเข้าใจ แต่มีคำถามเพิ่มครับ ถ้าเมื่อฟองอากาศที่ไหลมารวมกัน เพิ่ม ขึ้นเรื่อยๆ พอเข้าใจว่ามันมีสองอันช่วยกัน แต่ยังไงมันก็อต้องมีอากาศมาจนเต็ม ท่อหนึ่งเมตรนั้นแน่นอนครับ อาจจะเป็นอาทิตย์ เป็นเดือน หรือเป็นปี แล้วแต่การช้งานของแต่ล่ะคน เมื่อมันเต็ม แรงดันจะไม่ตกลงหรือครับ เพราะมันไม่มีที่จะพักแล้วดันแล้ว มันก้อคงจะไหลไปตามน้ำเหมือนเดิม แรงดันก้อจะลดลง ใช่ไหม ถ้าแบบนั้นเราจะทำอย่างไร หรือถ้าผมแก้ไขโดยการทำท่อพักสูงเท่ากัน แต่ด้านบน ผมต่อวาวล์ เปิดปิด เผื่อเวลาดักอากาศจนเต็ม ผมก้อไปเปิดให้อากาศมันออกมาจนเกือบหมด น้ำเข้าแทนที่ เมื่อเปิดปั๊มมา อากาศก้อจะเริ่มมีแรงดันเพิ่มขึ้นใหม่ เพราะมันจะสะสมอากาศใหม่ น่าจะดีกว่าไหมครับ รึว่ายังไง ผมงงตรงที่ถ้าอากาศถูกดักจนเต็มท่อหนึ่งเมตรแล้วนะครับ ช่วยอธิบายตรงนี้ทีหนึ่งครับ จะได้หายข้องใจ ขอบคุณครับ
บันทึกการเข้า

คุณโอ ณ สวนเกษตรในฝัน จ.สุรินทร์
กัมปะโด Shx
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 64



« ตอบ #85 เมื่อ: มีนาคม 13, 2014, 11:01:04 AM »

น่าสนใจครับ ระบบแบบนี้ ต้องปรับปรุงพื้นทีของผมก่อน ในระดับหนึ่ง


Liked By: Steve_Jeab
บันทึกการเข้า

"หน้าที่ของมนุษย์ คือการช่วยเหลือบุคคลผู้ที่อ่อนแอกว่าเรา มิใช่เอาเปรียบผู้อื่นที่อ่อนแอกว่า"
baanna2147
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 303


« ตอบ #86 เมื่อ: มิถุนายน 29, 2014, 02:48:37 PM »

ลุงแว่นครับ ผมขอถามนิดนึงนะครับ หรือใครที่รู้ตอบผมด้วยได้ครับ คือผมเข้าใจหลักการทำงานของ แอร์แว หรือท่อดักอากาศที่ออกจากปั๊มดันออกมา แต่พอมาถึงท่อดักอากาศ ฟองอากาศเหล่านั้นก้อจะขึ้นไปรวมกันที่ปลายท่อที่สูงของ ท่อดักอากาศแล้วจะทำให้เกิดแรงดัน น้ำมาสมทบกับปั๊ม ตรงนี้พอเข้าใจ แต่มีคำถามเพิ่มครับ ถ้าเมื่อฟองอากาศที่ไหลมารวมกัน เพิ่ม ขึ้นเรื่อยๆ พอเข้าใจว่ามันมีสองอันช่วยกัน แต่ยังไงมันก็อต้องมีอากาศมาจนเต็ม ท่อหนึ่งเมตรนั้นแน่นอนครับ อาจจะเป็นอาทิตย์ เป็นเดือน หรือเป็นปี แล้วแต่การช้งานของแต่ล่ะคน เมื่อมันเต็ม แรงดันจะไม่ตกลงหรือครับ เพราะมันไม่มีที่จะพักแล้วดันแล้ว มันก้อคงจะไหลไปตามน้ำเหมือนเดิม แรงดันก้อจะลดลง ใช่ไหม ถ้าแบบนั้นเราจะทำอย่างไร หรือถ้าผมแก้ไขโดยการทำท่อพักสูงเท่ากัน แต่ด้านบน ผมต่อวาวล์ เปิดปิด เผื่อเวลาดักอากาศจนเต็ม ผมก้อไปเปิดให้อากาศมันออกมาจนเกือบหมด น้ำเข้าแทนที่ เมื่อเปิดปั๊มมา อากาศก้อจะเริ่มมีแรงดันเพิ่มขึ้นใหม่ เพราะมันจะสะสมอากาศใหม่ น่าจะดีกว่าไหมครับ รึว่ายังไง ผมงงตรงที่ถ้าอากาศถูกดักจนเต็มท่อหนึ่งเมตรแล้วนะครับ ช่วยอธิบายตรงนี้ทีหนึ่งครับ จะได้หายข้องใจ ขอบคุณครับ

ขออธิบายนิดนึงนะครับ จากที่ผมศึกษามาบ้าง  น้ำที่ไหลไปในท่อจะมีฟองอากาศเกิดขึ้น ฟองอากาศมาจากไหน ฟองอากาศเหล่านั้นเกิดมาจากการดูดน้ำเข้าไปในท่อที่เครื่องดูดหรือปั้มน้ำไม่สามารถดูดเข้าไปได้ทั้ง 100% และอากาศที่วิ่งสวนเข้ามาจากปลายท่อ(ตามความเข้าใจของผมนะครับ)

ทีนี้ เมื่อน้ำที่เราดูดเข้ามามีอากาศผมมาด้วย แอร์แวะ ก็จะช่วยในการดักฟองอากาศภายในท่อ โดยการสะสมอากาศไปไว้ในตัวแอร์แวะเอง และอากาศที่สะสมนั้นไม่ได้เป็นอากาศที่นิ่งแต่เป็นอากาศที่มีแรงดันน้ำติดมาด้วยทำให้เกิดการกระเพื่อมของอากาศคล้ายๆกับเราสูบลมจักรยานคือขยับขึ้นขยับลงและเมื่อแรงดันอากาศมีมากพอก็จะดันน้ำที่อยู่ในท่อแอร์แวะออกไปยังปลายท่ออีกด้าน(ทีนี้แรงดันในแอร์แวะก็จะน้อยลง)หลังจากที่แรงดันในตัวแอร์แวะลดลงประกอบกับน้ำยังคงไหลเข้ามาทางเครื่องปั้ม(ดูดน้าตลอดเวลา)ทำให้เกิดการสะสมของแรงดันอากาศในท่อแอร์แวะอีกครั้ง และดัน้ำส่งออกไปทางปลายท่อ เป็นอย่างนี้วนไปเรื่อยๆ ครับ

อาจจะงงบ้าง แต่ระบบการทำงานของแร์แวะก็ประมาณนี้ครับ เพราะงั้น ขนาดท่อแอร์แวะ 1 เมตร เพียงพอแน่นอนครับ ไม่จำเป็นต้องยาวขึ้นอีก แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ขึ้นอยู่กับความต้องการนะครับ

 ยิ้มเท่ห์
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 29, 2014, 02:50:16 PM โดย baanna2147 » บันทึกการเข้า
mac2011
เกษตรกรมือใหม่
*
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 3745


« ตอบ #87 เมื่อ: ตุลาคม 03, 2017, 04:54:00 PM »

 ผมมันมือใหม่ซิงๆ กว่าจะเห็นห้องนี้เขาก็ทิ้งกันไปแล้ว
ไม่เป็นไรครับ ก็ขออนุญาตเข้ามาหาความรู้หน่อยน่ะครับบ
มือใหม่จริงๆ ไม่รู้เรื่องอะไรกะเค้าเลย ขอขอบคุณมา ณ.ที่นี่ด้วยครับบบ
บันทึกการเข้า

ลุงแม็ค 2011 @ kpp
51/184 ถ.กาญจนาภิเษก
ต.เสาธงหิน
อ.บางใหญ่
จ.นนทบุรี
   11140
"มีธรรมชาติที่ไหน มีลุงที่นั่น"
หน้า: 1 2 3 4 5 [6]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป: